TY - JOUR AU - เกตุดี, ยุพิณ PY - 2021/12/30 Y2 - 2024/03/29 TI - การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่มีภาวะโรคความดันโลหิตสูงที่มารับการผ่าตัดตัดต่อลำไส้ : กรณีศึกษา JF - Singburi Hospital Journal JA - Singburi Hosp J VL - 30 IS - 2 SE - กรณีศึกษา DO - UR - https://he01.tci-thaijo.org/index.php/shj/article/view/252421 SP - 78 - 94 AB - <h1>บทนำ: โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นโรคที่มีความรุนแรงผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตค่อนข้างสูง ซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีอาการของโรคก่อนจึงมาพบแพทย์ ซึ่งการรักษาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธีการผ่าตัดอาจจะช่วยเพิ่มอัตรารอดชีพของผู้ป่วยได้&nbsp;ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัย ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด</h1><p><strong>วิธีการศึกษา</strong><strong>: </strong>ศึกษารายกรณีคัดเลือกผู้ป่วยแบบเจาะจง 1 ราย ขณะผู้ป่วยมารับการผ่าตัดและติดตามเก็บข้อมูลจากเวชระเบียนผู้ป่วย</p><p><strong>ผลการศึกษา</strong><strong>:</strong> ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 83 ปี มีโรคประจำตัวความดันโลหิตสูง มาด้วยอาการ ปวดทั่วท้องมาก ท้องอืด อาเจียน ไม่ถ่ายอุจจาระ ก่อนมาโรงพยาบาล 1 วัน &nbsp;แพทย์วินิจฉัย Transverse&nbsp; Colon&nbsp;&nbsp;Cancer with Hypertension ได้การผ่าตัด Explor Laboratoy with Extened right hemicolectomy หลังผ่าตัดผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ และใช้เครื่องช่วยหายใจ ให้การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจตามมาตรฐาน ผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูงได้ให้ยาตามแผนการรักษา ผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจได้ 6 วัน ผู้ป่วยสามารถถอดท่อช่วยหายใจได้ ผู้ป่วยอาการดีขึ้นตามลำดับ สามารถจำหน่ายผู้ป่วยกลับบ้านได้ รวมระยะเวลานอนในโรงพยาบาล 11 วัน</p><p><strong>สรุป: </strong>พยาบาลห้องผ่าตัดมีบทบาทหน้าที่สำคัญในการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดทั้งร่ายกายและจิตใจ โดยการใช้กระบวนการพยาบาล ก่อนผ่าตัด ขณะผ่าตัด และหลังผ่าตัด เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะวิกฤต และกลับไปใช้ชีวิตประจำวันในสังคมได้ตามปกติ</p> ER -