@article{กลัดจำนงค์_2022, place={กรุงเทพฯ, ประเทศไทย}, title={ผลการรักษาฟื้นฟูสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุไร้ฟันด้วยการใส่ฟันเทียมทั้งปาก}, volume={31}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/shj/article/view/259675}, abstractNote={<p><strong>บทนำ</strong><strong>:</strong> การใส่ฟันเทียมทั้งปากในผู้สูงอายุ จะเป็นการฟื้นฟูหน้าที่ของฟัน และทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น</p> <p><strong>วิธีการศึกษา</strong><strong>: </strong>เป็นการศึกษาเชิงอนุมาน เพื่อศึกษาผลการรักษาฟื้นฟูสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุไร้ฟันด้วยการใส่ฟันเทียมทั้งปาก กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุไร้ฟันที่ใส่ฟันเทียมปี 2561-2565 จำนวน 178 คน เครื่องมือ ประกอบด้วย แบบประเมินคุณภาพทางคลินิกฟันเทียม ความพึงพอใจ คุณภาพชีวิต ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใส่ฟันเทียมทั้งปาก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยโลจีสติก</p> <p><strong>ผลการศึกษา</strong><strong>: </strong>กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 58.4 อายุเฉลี่ย 71.2 ปี เลิกใช้ฟันเทียม จำนวน  24 คน ร้อยละ 13.5 พบปัญหาฟันเทียมขาดการยึดอยู่ ร้อยละ 18.5 ฟันเทียมไม่เสถียร ร้อยละ 23.0 การสบฟัน ร้อยละ 10.7 ความสะอาดของฟัน ร้อยละ 11.2 ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ฟันเทียมมีผลต่อคุณภาพชีวิต (>0-10) ร้อยละ 25.3 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเลิกใช้ฟันเทียมทั้งปาก ได้แก่ ลำดับชุดฟัน (OR 2.06: 95%CI 1.97-4.13) การยึดอยู่ (OR 1.14: 95%CI 1.10-1.85) ความเสถียร (OR 2.28: 95%CI 2.99-5.24) การสบฟัน (OR 1.22: 95%CI 1.01-1.36) คุณภาพชีวิต (OR 0.89: 95%CI 0.32-0.94) และการได้รับการสนับสนุนทางสังคม (OR 2.09: 95%CI 1.94-2.58)</p> <p><strong>สรุป</strong><strong>: </strong>ควรจัดบริการเชิงรุก สนับสนุน ติดตามผลการใช้งานฟันเทียมเป็นระยะทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการใส่ฟันเทียม การให้คำแนะนำ และปรับปรุงข้อกำหนดระยะเวลาในการเปลี่ยนฟันเทียมชุดใหม่ให้เหมาะสมในแต่ละกรณ<strong>ี</strong></p>}, number={2}, journal={Singburi Hospital Journal}, author={กลัดจำนงค์ อุศิรา}, year={2022}, month={ธ.ค.}, pages={180–192} }