https://he01.tci-thaijo.org/index.php/policenurse/issue/feed JOURNAL OF THE POLICE NURSES AND HEALTH SCIENCE 2024-08-09T16:07:00+07:00 รองศาสตราจารย์ พันตำรวจเอกหญิง ดร. ทิพย์ฆัมพร เกษโกมล kesthip@gmail.com Open Journal Systems <p> วารสารพยาบาลตำรวจและวิทยาศาสตร์สุขภาพ เดิมชื่อ "วารสารพยาบาลตำรวจ" และจากการยกเลิกเลข ISSN 1906-652X (Print) และ 2672-961X (Online) ของวารสารพยาบาลตำรวจเดิม ตามหนังสือสมาคมศิษย์เก่าพยาบาลตำรวจ ที่ 2566/ว01 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2566 และหนังสือสำนักหอสมุดแห่งชาติ ที่ วว 0425/2320 ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2566 เรื่องขอยกเลิกการใช้เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) นั้น ทำให้เลข ISSN 1906-652X (Print) และ 2672-961X (Online) สิ้นสุดการใช้งานในวารสารพยาบาลตำรวจ ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 เป็นฉบับสุดท้าย ซึ่งในปี พ.ศ. 2567 นี้ สมาคมศิษย์เก่าพยาบาลตำรวจและตัวแทนกองบรรณาธิการ ได้ประชุมร่วมกันผ่านแอปพลิเคชัน Zoom และลงมติเห็นชอบมากกว่ากึ่งหนึ่งให้ปรับเปลี่ยนชื่อวารสารให้ถูกต้องและปรับวัตถุประสงค์ของการจัดทำวารสารให้มีความชัดเจน ตลอดจนจัดทำวารสารในรูปแบบออนไลน์ (Online) เท่านั้น โดยใช้ชื่อวารสารใหม่ว่า <strong>"วารสารพยาบาลตำรวจและวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Journal of The Police Nurses and Health Science)"</strong> ลงมติเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 ทั้งนี้เพื่อคงไว้ซึ่งรากเง้าเดิมของการเป็นพยาบาลตำรวจและเปิดกว้างสำหรับทีมสุขภาพในการลงตีพิมพ์ผลงานวิชาการร่วมกัน และขอใช้จำนวนปีที่ออกตีพิมพ์ต่อจากวารสารพยาบาลตำรวจ</p> <p> ดังนั้น วารสารพยาบาลตำรวจและวิทยาศาสตร์สุขภาพ จึงจัดทำขึ้นโดยสมาคมศิษย์เก่าพยาบาลตำรวจ ซึ่งมีระบบการบริหารจัดการวารสารตามมาตรฐานสากล คือ มีกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ผู้เชี่ยวชาญทั้งจากภายในคณะกรรมการสมาคมศิษย์เก่าพยาบาลตำรวจ และภายนอก ตามจำนวนที่ สป.อว. และ TCI กำหนด (มีการตรวจสอบคุณภาพบทความแบบ Double-blind review โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน ต่อบทความ 1 เรื่อง ตั้งแต่ เล่มปีที่ 14 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2565)</p> <p> <strong>วัตถุประสงค์</strong> เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านวิชาการ การวิจัย และนวัตกรรมทางการพยาบาลและวิทยาศาสตร์สุขภาพ</p> <p> <strong>กำหนดการออกวารสารพยาบาลตำรวจและวิทยาศาสตร์สุขภาพเป็นราย 6 เดือน (ปีละ 2 ฉบับ)</strong></p> <p><strong> ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน</strong></p> <p><strong> ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม </strong></p> <p> <strong>ดังนั้น วารสารพยาบาลตำรวจและวิทยาศาสตร์สุขภาพ จะตีพิมพ์เผยแพร่บทความในรูปแบบออนไลน์เท่านั้น และใช้เลข ISSN 3027-8791 (Online) ตั้งแต่เล่ม ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน พ.ศ. 2567 เป็นต้นไป</strong></p> <p class="p1"> </p> <p class="p1"><strong><span class="s1">ค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์</span></strong></p> <p class="p3"><span class="s2"> วารสารพยาบาลตำรวจและวิทยาศาสตร์สุขภาพจัดเก็บค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์<span class="Apple-converted-space"> </span>จำนวน 4,000 บาท สำหรับบทความภาษาไทย และจำนวน 6,000 บาท สำหรับบทความภาษาอังกฤษ โดยการชำระเงินนั้นจะทำต่อเมื่อบทความของผู้นิพนธ์ ได้ผ่านกระบวนการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ท่าน และผ่านการตรวจสอบจากกองบรรณาธิการ และได้รับตอบรับการลงตีพิมพ์แล้ว ทั้งนี้หากผู้นิพนธ์ขอยกเลิกบทความที่อยู่ระหว่างการพิจารณาหรือได้รับผลการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ท่านแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องชำระค่าดำเนินการ จำนวน 2,000 บาท ทั้งนี้ เอกสารค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ มีแขวนอยู่ที่หน้าเว็บไซต์ของวารสารแล้ว</span></p> <p class="p3"><span class="s2"><span class="Apple-converted-space"> </span>จึงเรียนมาเพื่อทราบ</span></p> <p class="p3"><span class="s2"><span class="Apple-converted-space"> </span>กองบรรณาธิการวารสารพยาบาลตำรวจและวิทยาศาสตร์สุขภาพ</span></p> https://he01.tci-thaijo.org/index.php/policenurse/article/view/271168 NEEDS AND EXPECTATIONS FOR OPENING A BACHELOR OF NURSING SCIENCE PROGRAM AT THE FACULTY NURSING SCIENCE, KASETSART UNIVERSITY 2024-06-29T13:21:12+07:00 Wiwat Laochai wiwatyod99@gmail.com Saisamorn Chaleoykitti Saisamorn2006@hotmail.com <p>This research was a qualitative study with the objective of exploring the needs and expectations for opening a Bachelor of Nursing Science Program at the Faculty of Nursing, Kasetsart University. The informants consisted of four groups: 1) University staff from Kasetsart University (8 people), 2) Personnel from government and private hospitals at primary, secondary and tertiary levels (8 people), 3) Community members (7 people), and 4) Personnel from the Thailand Nursing and Midwifery Council (7 people), totaling 30 informants. The study employed a purposive selection and snowball technique to collect data. Data were gathered through in-depth interviews and analyzed using content analysis methods.</p> <p>The research findings indicated two main points of needs and expectations for opening a Bachelor of Nursing Science program. The first point about the demand for opening the program included: 1.1) Demand for producing nursing graduates, 1.2) Demand for specific characteristics of nursing graduates, and 1.3) Demand for professional nursing skills. The second point about the expectation for opening the program included: 2.1) Expectations regarding nursing graduates, 2.2) Expectations for specific characteristics of nursing graduates, and 2.3) Expectations for competencies each academic year.</p> <p>The results of this study help to design the Bachelor of Nursing Science Program, at the Faculty of Nursing, Kasetsart University. That can produce nursing graduates with knowledge and ability to practice nursing and midwifery, it is consistent with the Kasetsart University cultural context. According to the needs and expectations of stakeholders which is beneficial to the nursing profession, society, and the country.</p> 2024-08-09T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 JOURNAL OF THE POLICE NURSES AND HEALTH SCIENCE https://he01.tci-thaijo.org/index.php/policenurse/article/view/270450 EFFECTS OF THE PHAILOM MODEL ON FALL PREVENTION AMONG OLDER ADULTS IN URBAN COMMUNITIES 2024-06-25T09:38:58+07:00 Poungpun Wutiyasakol kamollabhu@gmail.com Kamollabhu Thanomsat kamollabhu@webmail.npru.ac.th <p> This quasi-experimental study aimed to compare the effects of The Phailom model on fall risk, balance ability, leg muscle strength, and fall prevention behavior among elderly individuals in urban communities. The study involved 96 older adults from urban communities in the Mueang Nakhon Pathom District, Nakhon Pathom Province, Thailand. They were equally divided into a control group and an experimental group. Participants were selected using multi-stage random sampling. The research instruments included: 1) the Thai Falls Risk Assessment test (Thai-FRAT) for fall risk assessment, 2) the Timed Up and Go test (TUGT) for balance assessment, 3) the 30-Second Chair Stand Test (30s-CST) for leg muscle strength evaluation, and 4) a fall prevention behavior assessment with a reliability of .87. Data were analyzed using mean, standard deviation, and independent <em>t</em>-test.</p> <p> The findings indicated that participants in the experimental group who engaged in activities based on the Phailom model had significantly lower fall risk than those in the control group at the .05 significance level (<em>t </em>= -2.275, <em>p</em> = .029). Furthermore, the experimental group demonstrated significantly higher balance ability, leg muscle strength, and fall prevention behaviors compared to the control group at the .05 significance level (<em>t</em> = -5.374, 6.303, 5.798, <em>p</em> = .000, respectively).</p> <p> Therefore, these findings suggested that primary healthcare services should implement the Phailom model to promote the health of older adults and prevent falls, particularly within the context of urban communities.</p> 2024-12-16T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 JOURNAL OF THE POLICE NURSES AND HEALTH SCIENCE