@article{บ่อเงิน_วงษ์ทิม_2017, place={Bangkok, Thailand}, title={ผลการให้การปรึกษาแบบกลุ่มที่มีต่อเจตคติในการกระทำผิดวินัยของผู้ต้องขังเรือนจำกลางบางขวาง จังหวัดนนทบุรี}, volume={9}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/policenurse/article/view/94811}, abstractNote={<p>             การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อการกระทำผิดวินัยเรือนจำของผู้ต้องขังกลุ่มทดลองก่อนและหลังการให้การปรึกษาแบบกลุ่ม และ 2) เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อการกระทำผิดวินัยเรือนจำของผู้ต้องขังกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษากลุ่มและกลุ่มควบคุมที่ได้รับการให้ข้อสนเทศ ตัวอย่างเป็นผู้ต้องขังที่ถูกควบคุมอยู่ในเรือนจำกลางบางขวางแดน 5 จำนวน 12 คน ที่มีคะแนนจากแบบวัดเจตคติต่อการกระทำผิดวินัยเรือนจำต่ำกว่าเปอร์เซนไทล์ที่ 50 แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 6 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย กลุ่มทดลองได้รับการให้การปรึกษาแบบกลุ่มจำนวน 8 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง 30 นาที กลุ่มควบคุมได้รับการให้ข้อสนเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มเพื่อเสริมสร้างเจตคติต่อการกระทำผิดวินัยเรือนจำ 2) ข้อสนเทศ และ 3) แบบวัดเจตคติต่อการกระทำผิดวินัยเรือนจำที่มีค่าความเที่ยง .83 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้มัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ Wilcoxon matched pairs signed ranks test และ Mann-Whitney U test</p><p>             ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ต้องขังกลุ่มทดลองมีเจตคติต่อการกระทำผิดวินัยเรือนจำภายหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการให้การปรึกษาแบบกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  และ 2) ผู้ต้องขังกลุ่มทดลองมีเจตคติต่อการกระทำผิดวินัยเรือนจำภายหลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p><p> </p><p> </p><p style="text-align: left;" align="center"><strong>THE EFFECTS OF GROUP COUNSELING ON </strong><strong>ATTITUDES TOWARD BREAKING DISCIPLINE OF PRISONERS IN BANG KWANG CENTRAL PRISON, NONTHABURI PROVINCE</strong></p><p style="text-align: left;" align="center"> </p><p style="text-align: left;" align="center"> </p><p><strong>Abstract</strong></p><p>             The objectives of this study were 1) to compare attitude of prisoners to misbehavior of the objectives of this study were 1) to compare the attitude of prisoners to misbehavior of the experimental group before and after receiving group counseling and 2) to compare the attitude of prisoners to misbehavior of the experimental group after receiving group counseling with the control group after receiving information service. The samples consisted of 12 prisoners in building 5 of the Bang Kwang Central Prison who had scores on the test of attitude to prisoner misbehavior lower than 50<sup>th</sup> percentile. They were simple randomly divided into the experimental group and the control group, with 6 subjects in each group. The experimental group received 8 sessions of the group counseling which lasted for 1 hour 30 minutes while the control group received the information service. The study instruments were 1) the group counseling program to improve attitude of prisoners misbehavior 2) information service and 3) a questionnaire on attitude of prisoners misbehavior with the reliability of .83. Data were analyzed by median, quartile deviation, the Wilcoxon matched pairs signed ranks test and the Mann-Whitney U test.</p><p style="text-align: left;" align="center">             The study findings showed that 1) after receiving group counseling, the experimental group increased their attitude of prisoners to misbehavior significantly at the .05 level and 2) after receiving group counseling, the experimental group increased their attitude of prisoners to misbehavior higher than the control group significantly at the .05 level.</p>}, number={1}, journal={JOURNAL OF THE POLICE NURSES}, author={บ่อเงิน ภาณุกานต์ and วงษ์ทิม สุขอรุณ}, year={2017}, month={Jun.}, pages={117–127} }