@article{ชมพูนุท_อินทร์แก้ว_2017, place={Bangkok, Thailand}, title={การบูรณาการบริการวิชาการกับการจัดการเรียนการสอน วิชาปฏิบัติการพยาบาลเลือกสรร สาขาการพยาบาลอนามัยชุมชน}, volume={9}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/policenurse/article/view/94774}, abstractNote={<p style="text-align: justify;">            การบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน ส่งผลให้นักศึกษามีสมรรถนะทางวิชาการดีขึ้น พัฒนาการคิดวิเคราะห์ พัฒนาทักษะการมีปฏิสัมพันธ์ และสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพการพยาบาล<strong> </strong>การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาลก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติการพยาบาลเลือกสรร สาขาการพยาบาลอนามัยชุมชน ตามการรับรู้ของนักศึกษา 2) เพื่อเปรียบเทียบทัศนคติการให้บริการสุขภาพและการปฏิบัติงานในชุมชนก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติการพยาบาลเลือกสรร สาขาการพยาบาลอนามัยชุมชน ตามการรับรู้ของนักศึกษา กลุ่มประชากรที่ศึกษาเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาปฏิบัติการพยาบาลเลือกสรร สาขาการพยาบาลอนามัยชุมชน จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการทดลองคือ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติการพยาบาลเลือกสรร สาขาการพยาบาลอนามัยชุมชน ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากแนวคิดการจัดการเรียนการสอนโดยการ บูรณาการกับการบริการวิชาการ 6 ขั้นตอน 2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการบูรณาการบริการวิชาการกับการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาล และแบบสอบถามทัศนคติต่อการให้บริการสุขภาพและการปฏิบัติงานในชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างของค่าคะแนนเฉลี่ย โดยใช้ pair t-test</p><p style="text-align: justify;">            ผลการศึกษาพบว่า 1) ภายหลังเข้าร่วมโครงการสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาล ทุกสมรรถนะมีค่าเพิ่มขึ้น อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 4.58 สำหรับทัศนคติการให้บริการสุขภาพและการปฏิบัติงานในชุมชน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29 2) คะแนนเฉลี่ยสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาลหลังการเข้าร่วมโครงการบริการวิชาการกับการเรียนการสอนมากกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (<em>p</em> < .01) ทั้งสมรรถนะรายด้านและโดยรวม และ 3) คะแนนเฉลี่ยทัศนคติการให้บริการสุขภาพและการปฏิบัติงานในชุมชนหลังการเข้าร่วมโครงการบริการวิชาการกับการเรียนการสอนมากกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (<em>p</em> < .001)</p><p style="text-align: justify;"> </p><p style="text-align: justify;" align="center"><strong>ACADEMIC SERVICE INTEGRATION WITH TEACHING AND LEARNING OF THE PRACTICUM</strong><strong> OF SELECTED NURSING AREA: COMMUNITY HEALTH NURSING COURSE</strong></p><p style="text-align: justify;"> </p><p style="text-align: justify;"><strong>Abstract</strong></p><p style="text-align: justify;">            The integration of academic service program with teaching and learning activities helped nursing students to improve their academic competencies, critical thinking, relationship skills and professional attitudes.</p><p style="text-align: justify;">            This quasi experimental research with a one group pretest-posttest design aimed to compare nursing students’ practice competencies before and after their participation in an integration of academic service program with teaching and learning activities, and to compare their attitudes on health services and working in community in the same condition. The sample were 18 fourth year nursing students who have enrolled in Practicum of Selected Nursing Area: Community Health Nursing Course. There were two research instruments. The first was a model of teaching and learning method integration with academic services program which composed of six steps of teaching and learning activities. The second was a self-administered questionnaires for assessing nursing students’ practice competencies scale and their attitudes on health services and working in community scale. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation and pair t-test to compare the mean scores.</p><p style="text-align: justify;">            The results of the research revealed as follows :</p><p style="text-align: justify;">            1. The nursing practice competencies and attitudes on health services and working in community average overall score as perceived by the nursing students after participating in the course, was higher than before participating.</p><p style="text-align: justify;">            2. The nursing students’ average overall score for practice competencies on each item and overall were significantly higher than prior to participation at the lower 0.01 level.</p><p style="text-align: justify;">            3. The nursing students’ average overall score on attitudes on health services and working in community were significantly higher than prior to participation at the lower 0.001 level.</p>}, number={1}, journal={JOURNAL OF THE POLICE NURSES}, author={ชมพูนุท สมจินดา and อินทร์แก้ว วรรณเพ็ญ}, year={2017}, month={Jun.}, pages={24–36} }