TY - JOUR AU - ใจมาลัย, วิชานีย์ AU - วงศ์คีนี, วิไลพร AU - เกตุชู, เกษร AU - โกศัลวัฒน์, ศิริรัตน์ AU - ไชยกุลวัฒนา, ชลลดา PY - 2017/12/06 Y2 - 2024/03/28 TI - พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในนักศึกษาระดับอุดมศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา JF - Journal of Public Health Nursing JA - J Pub Health Nurse VL - 31 IS - 2 SE - Research Articles DO - UR - https://he01.tci-thaijo.org/index.php/phn/article/view/105019 SP - 109-126 AB - <p>สถานการณ์การดื่มแอลกอฮอล์ของเยาวชนในจังหวัดพะเยา มีสถิติการดื่มอยู่ในระดับสูงของประเทศไทย งานวิจัยเชิงสำรวจนี้เป็นการวิเคราะห์หาสาเหตุพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในจังหวัดพะเยาใช้กรอบแนวคิด PRECEDE Framework กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จำนวน 468 คน และผู้บริหารสถาบันการศึกษา 3 ท่าน เลือกโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษา พบว่า เยาวชนส่วนใหญ่มีความรู้และทัศนคติที่เห็นด้วยเกี่ยวกับผลเสียจากการดื่มแอลกอฮอล์ในระดับมากร้อยละ 88.0 &nbsp;และ 50.94 ตามลำดับ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่การรับรู้สิ่งจูงใจต่อการดื่มและผลกระทบจากการดื่มสุราร้อยละ 55.5 และ 52.9 ตามลำดับ การเข้าถึงแหล่งทรัพยากร พบว่า ร้านจำหน่ายแอลกอฮอล์ในรัศมี 500 เมตร มีจำนวน15 ร้าน และในรัศมี 1,000 เมตร จำนวน 33 ร้าน และด้านนโยบายของสถาบันการศึกษา พบว่า มีนโยบายและกฎระเบียบที่เคร่งครัดในสถานศึกษา แต่ไม่ครอบคลุมภายนอกสถานศึกษา อีกทั้งพบว่า นอกโรงเรียน มีมาตรการลงโทษทางกฎหมาย หากเกิดการทะเลาะวิวาทจากการดื่ม และมหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับภาครัฐในการควบคุมสถานบันเทิง ร้านค้า ให้ปฏิบัติตามกฎหมาย แต่ยังพบการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาในรอบ 6 เดือนที่ผ่านมาถึงร้อยละ 83.8 ความถี่มากกว่า 4 ครั้งต่อสัปดาห์ ร้อยละ 34.0 สาเหตุของการดื่มแอลกอฮอล์ คือสังสรรค์ร้อยละ 43.5 ผู้ร่วมดื่มคือ เพื่อนร้อยละ 88.7 ค่าใช้จ่ายในการดื่มแต่ละครั้งต่อคนคือ 100-300 บาท ส่วนใหญ่ดื่มในช่วงเวลาเย็นร้อยละ 72.8 และซื้อเครื่องดื่มจากร้านสะดวกซื้อร้อยละ 55.7 โดยมีผลกระทบหลังจากดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์คือ ไม่สามารถตื่นไปเรียนได้ หรือไปสายทุกครั้ง ร้อยละ 24.1 มีเรื่องทะเลาะวิวาทร้อยละ 22.3 ข้อเสนอแนะควรมีมาตรการในการควบคุมการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้เป็นไปตามกฎหมาย และควรรณรงค์ให้เห็นผลเสียจากการดื่มแอลกอฮอล์ในระยะยาว</p><p><strong>Alcohol drinking behavior among undergraduate students in Phayao Province</strong></p><p>Alcohol drinking by youth in Phayao Province has reached the highest level in Thailand. This descriptive study used a survey instrument based on the PRECEDE model as a framework to investigate the alcohol drinking behavior of undergraduate students in Muang district, Phayao Province.&nbsp; The sample were 468 undergraduate students and 3 administrator of educational institution. Stratified random sampling was used to recruit the sample. Data were collected using questionnaire and semi-structured Interview protocol. Descriptive statistic and content analysis were used to analyze data.</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results revealed that most participants had knowledge and attitudes toward the negative effects of alcohol drinking at high level (88.0 %, 50.94% respectively). About half of participants had incentive to drink alcohol (55.55) and negative consequence of drinking (52.95). Regarding prevalence of liquor stores, there were 15 stores within 500 meters and 33 stores within 1,000 meters of educational institutions. According to the policy, the educational institutions’ administrators reported that there was no alcohol drinking at the institution. In addition, punishment would be applied for aggression and bullying behaviors resulting from alcohol drinking. Moreover, the educational institutions also cooperated with the public sectors to monitor stores and entertainment venue to compliance with laws.&nbsp; Nevertheless, most undergraduate students (83.8%) reported drinking alcohol within the last six months; and 34% of students drank four times a week. The main rational for alcohol consumption was for social gatherings (43.5%). Most students (88.7%) drank with friends. Each student spent about 100-300 baht for alcohol drinking on each occasion. The majority of students (72.8%) drank alcohol in the evening; and 55.7 % of the students bought alcohol beverages from convenience stores. Negative consequences included being unable to wake up for study or always being late to study (24.1%), and being bullied (22.3%).</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; It is suggested that legislation on the sale of alcohol beverages to students should be regulated. The educational campaign about the negative impacts of long-term alcohol consumption should be promoted.</p> ER -