@article{รัตนศิลา_อำนาจสัตย์ซื่อ_ฉันศิริกาญจน_กลั่นกลิ่น_เกิดมงคล_2016, title={ผลของโปรแกรมการจัดการผู้ป่วยรายกรณีผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้}, volume={29}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/phn/article/view/48508}, abstractNote={<p class="Default"><span lang="TH">ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานในผู้สูงอายุมีความรุนแรงกว่ากลุ่มวัยอื่น เสี่ยงต่อการเกิดความพิการ และทำให้คุณภาพชีวิตลดลง การวิจัยกึ่งทดลองแบบหนึ่งกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจงเป็นผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่</span><span> 2 <span lang="TH">ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและมารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกเวชศาสตร์ครอบครัวโรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน</span> 30 <span lang="TH">คน ระยะเวลาในการศึกษา</span> 12 <span lang="TH">สัปดาห์เข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมการจัดการผู้ป่วยรายกรณีซึ่งประยุกต์ทฤษฎีระบบการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ของโอเร็มต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง ที่ประกอบด้วยกิจกรรม การวางแผนดูแลรายบุคคลโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยมีผู้วิจัยเป็นผู้จัดการรายกรณี ให้การดูแลตามแผนการดูแลรายบุคคล การให้ความรู้และคำแนะนำ การเยี่ยมบ้าน การติดตามและกระตุ้นทางโทรศัพท์ และกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมการดูแลตนเอง ระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเม็ดเลือดแดง และคุณภาพชีวิต ก่อนและหลังเข้าโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ</span> Paired t-test</span></p><p class="Default"><span lang="TH">ผลการศึกษา พบว่า หลังได้รับโปรแกรมฯ กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเองสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ</span><span> (p-value < .05) <span lang="TH">ระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเม็ดเลือดแดงต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ</span> (p-value < .05) <span lang="TH">และคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ</span> (p-value < .05) <span lang="TH">ผลการวิจัยครั้งนี้สนับสนุนผลของโปรแกรมการจัดการผู้ป่วยรายกรณีซึ่งประยุกต์ทฤษฎีระบบการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ของโอเร็มต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง ระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเม็ดเลือดแดง และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ซึ่งผลการศึกษาสนับสนุนการนำรูปแบบการจัดการรายกรณีมาใช้เป็นแนวทางในการดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังอื่นๆ เพื่อสนับสนุนพฤติกรรมการดูแลตนเอง และเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ</span></span></p><p class="Default"><span> </span></p><p class="Default"><strong><span>EFFECT OF CASE MANAGEMENT PROGRAM FOR OLDER ADULTS WITH UNCONTROLLED DIABETES MELLITUS</span></strong></p><p class="Default"><span>Complications related to diabetes are more severe in the older adult than in other populations, which are at high risk for disability and reduced quality of life. This quasi-experimental research with one-group pretest-posttest design aimed to examine the effect of a case management program for older adults with uncontrolled diabetes mellitus. Thirty older adults with uncontrolled diabetes mellitus who attending the Outpatient Unit of the Family Medicine Department, Ramathibodi Hospital were purposively selected to attend the 12 week case management program that applied nursing support and knowledge of Orem’s Theory.The program consisted of comprehensive health assessment, a clinical pathway developed by a multidisplinary team, health education and consultation, a home visit, follow-up telephone calls, and group learning- sharing activities. Self-care behaviors, HbA1C and quality of life were collected before and after the program.</span></p><p class="Default"><span>According to the paired t-test, after the experiment the sample had significantly higher scores on self-care behaviors compared with before the program (p-value < .05). HbA1C level decreased significantly (p-value < .05) and the quality of life was a significantly better score compared with before the program (p-value < .05). These findings suggest the case management program that applied nursing support and knowledge of Orem’s Theory can improve self-care behaviors, HbA1C level and quality of life of older adults with uncontrolled diabetes mellitus. The case management program should be applied for other chronic diseases to prevent complications, reduce complexity of care, and improve quality of life among older adults.</span></p>}, number={1}, journal={Journal of Public Health Nursing}, author={รัตนศิลา รังสิมา and อำนาจสัตย์ซื่อ ขวัญใจ and ฉันศิริกาญจน สิรินทร and กลั่นกลิ่น สิริประภา and เกิดมงคล พัชราพร}, year={2016}, month={Feb.}, pages={67–79} }