https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nso-kkh/issue/feed วารสารทางการแพทย์และบริหารจัดการระบบสุขภาพ โรงพยาบาลขอนแก่น (Journal of Medicine and Health System Management of Khon Kaen Hospital) 2024-07-11T11:02:24+07:00 ดร.ผนึกแก้ว คลังคา pugpoa140@gmail.com Open Journal Systems <p>วารสารทางการแพทย์และบริหารจัดการระบบสุขภาพ โรงพยาบาลขอนแก่น เป็นวารสารทางวิชาการซึ่งเป็นลิขสิทธิ์ของ โรงพยาบาลขอนแก่น จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Article) รายงานผู้ป่วย (Case report) บทความวิชาการ (Academic Article) บทความปริทัศน์ (Literature Review Article) ตลอดจนองค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ การพยาบาลหรือวิทยาศาสตร์สุขภาพ แนวปฏิบัติจากงานวิจัย บทความวิชาการ และบทความอื่นๆที่น่าสนใจ โดยทุกบทความได้รับการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จากภายใน และภายนอกโรงพยาบาลขอนแก่น ซึ่งมีกำหนดตีพิมพ์ปีละ 2 ฉบับ</p> https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nso-kkh/article/view/268434 การพยาบาลผู้ป่วยโรคเบาหวานขนิดที่ 2 ที่มีแผลที่เท้าและควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดไม่ได้ : กรณีศึกษา 2 ราย 2024-01-15T20:17:04+07:00 niyom yunsri niyomkwasui@gmail.com <p><strong>Introduction; </strong>Throughout the life of a diabetic patient There is a 15% chance of diabetic foot ulceration and in this group there is a chance that the leg will be amputated. Therefore, nurses have an important role in caring for wounds. and increase the potential of patients to have a better quality of life.</p> <p><strong>Objective:</strong> To study nursing practices for patients with type 2 diabetes who have foot ulcers and cannot control their sugar levels.</p> <p><strong>Methods:</strong> Case study of two patients with type 2 diabetes who had foot ulcers and were unable to control their blood sugar levels. Health status assessment according to the Gordon Health Plan. Define nursing diagnosis Use the nursing process as a framework for nursing practice. Evaluate and summarize nursing results.</p> <p><strong>Results:</strong> The results of the study found that both case studies had similar important nursing issues, namely knowledge and understanding of diabetes. Diet, foot care, wound care, and continuous self-care are not enough. Lack of confidence, lack of nursing skills provided is Providing knowledge about diabetes Eating, taking care of your feet, practicing continuous wound care skills at home. Including noticing changes in symptoms that may occur and being able to help yourself initially and accessing service sources near your home.</p> <p><strong>Suggestions:</strong> Giving knowledge Empowerment to patients to gain confidence in taking care of themselves, which will make nursing more effective</p> <p><strong>Keywords:</strong> type 2 diabetes, diabetic foot ulcers</p> 2024-07-11T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล โรงพยาบาลขอนแก่น https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nso-kkh/article/view/268456 การพยาบาลผู้ป่วยโรคเนื้อเน่าที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด:กรณีศึกษา 2 ราย 2024-01-17T04:45:25+07:00 Wipha Hathon homjeaw@windowslive.com <p><strong>การพยาบาลผู้ป่วยโรคเนื้อเน่าที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด</strong><strong>: กรณีศึกษา 2 ราย</strong></p> <p>วิภา&nbsp; หาทอน พย.ม.*</p> <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p><strong>บทนำ </strong>โรคเนื้อเน่า เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียของเนื้อเยื่ออ่อนที่รุนแรง รวดเร็ว อัตราการเสียชีวิตสูง การวินิจฉัยแม่นยำ ให้ยาปฏิชีวนะและผ่าตัดรวดเร็วช่วยลดความพิการและอัตราการเสียชีวิต</p> <p><strong>วัตถุประสงค์ </strong>เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการพยาบาลผู้ป่วยโรคเนื้อเน่าที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด</p> <p><strong>วิธีวิจัย </strong><strong>: </strong>กรณีศึกษาเปรียบเทียบผู้ป่วยโรคเนื้อเน่าที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด 2 ราย โดยใช้ กระบวนการพยาบาลตามแนวคิด FANCAS</p> <p><strong>ผลการศึกษา</strong>&nbsp; ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่เหมือนกัน คือ 1) ช็อกจากการติดเชื้อ 2)เนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน 3)การติดเชื้อซ้ำ 4)น้ำเกินและของเสียคั่ง 5)น้ำตาลในเลือดต่ำ 6)ภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ 7)ซีด 8)ปวดแผล 9)ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการ 10)การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันบกพร่อง 11)วิตกกังวล&nbsp; ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ต่างกัน 3 ข้อ คือ 1)พร่องความรู้การดูแลตนเอง 2)เสี่ยงต่อภาวะเลือดออกง่าย 3)สูญเสียภาพลักษณ์ ผลลัพธ์การพยาบาล กรณีศึกษาที่ 1 ทุกปัญหาได้รับการแก้ไขและกลับบ้านได้ กรณีศึกษาที่ 2 เสียชีวิต</p> <p><strong>การนำไปใช้ประโยชน์&nbsp; </strong>นำไปพัฒนาเป็นมาตรฐานและแนวปฏิบัติการพยาบาล คู่มือการนิเทศทางคลินิก และศึกษาผลลัพธ์การใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยโรคเนื้อเน่าที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อ</p> <p>&nbsp;</p> <p><strong>คำสำคัญ&nbsp; </strong>โรคเนื้อเน่า ภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด กระบวนการพยาบาล FANCAS</p> <table> <tbody> <tr> <td width="924"> <p>&nbsp;</p> </td> </tr> </tbody> </table> <p>*พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลขอนแก่น</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> 2024-07-11T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล โรงพยาบาลขอนแก่น https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nso-kkh/article/view/268502 การพยาบาลผู้ป่วยภาวะกล้ามเนื้อลายย่อยสลายจากอุบัติเหตุรุนแรงร่วมกับ ภาวะไตวายเฉียบพลัน: กรณีศึกษาเปรียบเทียบ 2 ราย 2024-01-19T09:42:28+07:00 Natpaphat Khotlakkum mainatpaphat@gmail.com <p><strong>Abstract</strong></p> <p><strong>Introduction:</strong> skeletal muscle degradation (Rhabdomyolysis) is a condition in which skeletal muscle breaks down acutely. Often the result is related to injury. until releasing toxins into the bloodstream and excreted through the kidneys causing the ureter to become blocked Acute kidney failure occurred. and can also cause the patient's death.</p> <p><strong>Objective:</strong> To study the use of the nursing process in nursing care of patients with skeletal muscle degeneration from severe accidents combined with acute kidney failure.</p> <p><strong>Methods: </strong>This is a case study of 2 patients with skeletal muscle degeneration from severe accidents combined with acute kidney failure. The use of the nursing process is analyzed.</p> <p><strong>Results</strong>: Both patients had skeletal muscle degeneration from severe accidents along with acute kidney failure. The results of the analysis of health status data and health problems of patients and families found that there were 6 identical nursing diagnoses: 1) having hypovolemic shock 2) having rhabdomyolysis 3) having an imbalance of water and electrolytes. Electrolyte 4) Discomfort due to wound pain 5) Relatives are worried about illness 6) Decrease in daily activities due to movement restriction. Different nursing diagnoses are Case study number 1 Lost appearance due to having his right leg amputated The second case study had acute kidney failure. The nursing results showed that all problems were resolved. Both patients received care. until symptoms improve and can be discharged from the hospital</p> <p><strong>Utilization:</strong> The results of the study were used to develop nursing standards. Nursing practice guidelines, clinical supervision manual</p> <p>&nbsp;</p> <p><strong>Keywords:</strong> Rhabdomyolysis, severe injury, acute kidney failure</p> 2024-07-11T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล โรงพยาบาลขอนแก่น https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nso-kkh/article/view/268513 การพยาบาลผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง: กรณีศึกษา 2 ราย 2024-01-19T18:36:39+07:00 Charoonrat Srisespimp jarounrut.s@gmail.com <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p><strong>บทนำ</strong> การพยาบาลผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะท้ายแบบประคับประคอง ให้ความสำคัญกับการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวมครอบคลุมด้านจิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ เป้าหมายพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย และตายดีสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์</p> <p><strong>วัตถุประสงค์</strong> เพื่อศึกษาการใช้กระบวนการพยาบาล ปฏิบัติการพยาบาลแบบประคับประคอง ในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะท้าย</p> <p><strong>วิธีการศึกษา &nbsp;</strong>กรณีศึกษาผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะท้ายที่ได้รับการวินิจฉัยไตเรื้อรังระยท้ายได้รับการดูแลแบบประคับประคอง จำนวน 2 ราย วิเคราะห์การใช้กระบวนการพยาบาล</p> <p><strong>ผลการศึกษา &nbsp;</strong>กรณีศึกษาทั้ง 2 รายในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลภาวะสุขภาพและปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย พบว่ามีข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลเหมือนกันทั้งหมด 5 ข้อ &nbsp;ได้แก่ 1) มีภาวะเสียสมดุลของอิเล็กโทรไลต์ เนื่องจากพยาธิสภาพของโรคไตเรื้อรังระยะท้าย 2) ไม่สุขสบายเนื่องจากมีไข้ 3) ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันลดลงเนื่องจากเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย จากภาวะโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย 4) แบบแผนการนอนเปลี่ยนแปลงนอนไม่หลับเนื่องจากวิตกกังวลกับภาวะเจ็บป่วย 5) ความทนในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากอ่อนเพลีย Last wish ผู้ป่วยทั้ง 2 ราย ขอเสียชีวิตที่บ้าน ส่วนการวินิจฉัยทางการพยาบาลที่แตกต่างกัน จำนวน 2 ข้อ ได้แก่ ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากมีภาวะการหายใจล้มเหลวจากพยาธิสภาพของโรคในผู้ป่วยรายที่ 2 ที่เป็นผู้สูงอายุ 81 ปี สมรรถนะเสื่อมถอยมีปัญหาการทำหน้าที่ของไตบกพร่อง และมีโรคเรื้อรังในระบบหัวใจและหลอดเลือด จึงเกิดภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยรายที่ 1 ที่เป็นผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ วัยทำงาน เริ่มมีการเสื่อมถอยของสมรรถนะ ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ทำให้รู้สึกสูญเสียคุณค่าในตนเอง คิดว่าเป็นภาระให้ครอบครัว มีความเครียดเหนื่อยล้าในบทบาทผู้ให้การดูแล</p> <p>ผลลัพธ์การพยาบาลพบว่าทุกปัญหาได้รับการแก้ไข และการตอบสนองความต้องการสุดท้ายของชีวิตผู้ป่วยทั้ง 2 ราย</p> <p><strong>การนำไปใช้ประโยชน์</strong> เป็นแนวทางในการพัฒนาแนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะท้ายแบบประคับประคอง แนวทางการบรรเทาอาการทุกข์ทรมานในผู้ป่วยไตวายระยะท้ายอย่างมีประสิทธิภาพ แนวทางการคัดกรองผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะท้ายเข้ารับบริการพยาบาลการดูแลแบบประคับประคอง</p> <p><strong><u>คำสำคัญ การพยาบาลผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะท้ายแบบประคับประคอง</u></strong></p> <p><strong>*พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลขอนแก่น</strong></p> 2024-07-11T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล โรงพยาบาลขอนแก่น https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nso-kkh/article/view/268804 การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตกที่ได้รับการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเพื่อระบายเลือดออก ในระยะวิกฤต: กรณีศึกษา 2 ราย 2024-02-04T02:53:37+07:00 Supaporn Gulsuwan supaporn8935@gmail.com <p>Nursing care of hemorrhagic stroke patients undergoing critical craniotomy : 2 cases study<br>Supaporn Gulsuwan*<br>Abstract<br>Background: Hemorrhagic stroke is a critical neurological condition with complex and <br>severe complications, significantly increasing the risk of mortality or high disability for patients. <br>Observational symptom monitoring and appropriate support are crucial from the beginning of <br>admission, throughout the critical phase, and into the recovery phase, aiming to ensure patient <br>safety from complications, minimize the impact of complications, and promote a good quality <br>of life.<br>Objective: To examine the nursing care of patients with hemorrhagic stroke undergoing <br>critical craniotomy: A study of two cases.<br>Methodology: A retrospective case review was conducted at Khon Kaen Hospital. <br>Medical records of 2 patients were examined, involving obtaining an illness history from <br>relatives and conducting a physical examination based on the nursing process to determine <br>nursing diagnoses within the FANCAS framework, including Fluid balance, Aeration, Nutrition, <br>Communication, Activity, and Stimulation.<br>Results: In the case study, both patients had hypertension and non-compliance with <br>continuous medication, which were significant factors contributing to hemorrhagic stroke. After <br>craniotomy, both cases experienced complications. The first patient received nursing care to <br>resolve the complications and prevent a critical condition. However, the patient with disabilities <br>required ongoing care for recovery. The other case received care and resolution of <br>complications; however, the symptoms worsened, leading to comprehensive supportive care to <br>reduce suffering and focus on ensuring a good quality of life for both the patient and their <br>family.<br>Conclusion: Patients with hemorrhagic stroke undergoing craniotomy are in a critical <br>condition, and the nursing process is crucial to ensure safety, prevent potential complications, <br>reduce mortality rates, and minimize disabilities.<br>Keywords: Nursing Care, Hemorrhagic Stroke, Craniotomy</p> 2024-07-11T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล โรงพยาบาลขอนแก่น