ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดภาวะสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา (Delirium Tremens) ในผู้ป่วยสุราที่สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี
คำสำคัญ:
ภาวะสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา, ผู้ป่วยสุรา, สุราบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายการเกิดภาวะสั่นเพ้อเหตุขาดสุราของผู้ป่วยสุราในสถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี
วัสดุและวิธีการ การวิจัยนี้เป็นการศึกษาย้อนหลัง (retrospective) กลุ่มตัวอย่าง เป็นเวชระเบียนผู้ป่วยสุราที่เข้ารับการบำบัดแบบผู้ป่วยในสถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนีระหว่างปี 2545-2560 จำนวน 261 แฟ้ม เครื่องมือเป็นแบบบันทึกข้อมูลที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ได้ ค่า IOC ระหว่าง 0.66-1.00 วิเคราะห์ข้อมูล หาความสัมพันธ์ด้วยสถิติไคว์แควร์ และ Point biserial correlation และปัจจัยทำนายการเกิดโรคสั่นเพ้อเหตุขาดสุราด้วย Binary Logistic regression
ผลการศึกษา
- ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ลักษณะการเสพติดสุรา ได้แก่ ประวัติชักจากการขาดสุรา ประวัติการเกิดภาวะสั่นเพ้อ ประวัติการเกิดอาการประสาทหลอนจากการถอนสุรา การเสพยาเสพติดร่วม คะแนน CIWA แรกรับ และระยะเวลาที่ดื่ม ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ ค่า MCV Platelets potassium magnesium และ AST มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
- ตัวแปรทำนายการเกิดภาวะสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา คือ ประวัติการเกิดภาวะสั่นเพ้อ (OR = 42.38, 95% CI = 10.023–179.15) การเสพยาเสพติดร่วม (OR = 4.92, 95% CI = 1.688-14.314) และเกล็ดเลือดต่ำ (OR = 4.85, 95% CI = 1.523-15.438)
สรุป ปัจจัยที่สามารถทำนายการเกิดภาวะสั่นเพ้อเหตุขาดสุราในผู้ป่วยสุรา คือ ผู้ที่มีประวัติการเกิดภาวะสั่นเพ้อครั้งก่อน การเสพยาเสพติดร่วม และผู้ที่มีเกล็ดเลือดต่ำ
References
World Health Organization. Is harmful use of alcohol a public health problem? [Internet].
[cited 2016 Feb 20]. Available from:http://www.who.int/features/qa/66/en/
ทักษพล ธรรมรังสี, บรรณาธิการ. สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลกระทบในประเทศไทยปี
นนทบุรี: ศูนย์วิจัยปัญหาสุราสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศกระทรวงสาธารณสุข;
Kosten TR, O’Connor PG. Management of drug and alcohol withdrawal. N Engl J Med
;348:1786-95.
Heilig M, Egli M, Crabbe JC, Becker HC. Acute withdrawal, protracted abstinence and negative
affect in alcoholism: are they linked?. Addict Biol2010;15:169-84.
American Psychiatric Association. Diagnostic and statistical manual of mental disorders. 5th
ed. DSM-5. Washington, DC: American Psychiatric Publishing; 2013.P.499-500
พิชัย แสงชาญชัย. สุรา แอลกอฮอล์ และความผิดปกติที่เกี่ยวข้อง (Alcohol-Related Disorder). ในวิโรจน์
วีรชัย, ล่ำซำ ลักขณาภิชนชัช, อังกูร ภัทรากร, ฉวีวรรณ ปัญจบุศย์ และนิภา กิมสูงเนิน บรรณาธิการ. ตำรา
เวชศาสตร์การเสพติด กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2548. หน้า 281-
Guthrie SK. The treatment of alcohol withdrawal. Pharmacotherapy 1989;9:131-43.
Palmstierna T. A model for predicting alcohol withdrawal delirium. PsychiatrServ 2001;
:820-3
Ferguson JA, Suelzer CJ, Eckert GJ, Zhou XH, Dittus RS. Risk factors for delirium tremens
development. J Gen Intern Med 1996;11:410-4.
Isbell H, Fraser HF, Wikler A, Belleville Re, Eisenman AJ. An experimental study of the
etiology of rum fits and delirium tremens. Q J Stud Alcohol 1955;16:1-33.
Victor M, Brausch C. The role of abstinence in the genesis of alcoholic epilepsy. Epilepsia
; 8:1.
Victor M, Adams RD. The effect of alcohol on the nervous system. Res PublAssoc Res
NervMent Dis 1953;32:526-73.
Foy A, Kay A, Taylor A. The course of alcohol withdrawal in a general hospital. QJM
;90:253-61.
Dolman, JM., Hawkes, ND. Combining the audit questionnaire and biochemical markers to
assess alcohol use and risk of alcohol withdrawal in medical inpatients. Alcohol
Alcohol2005; 40:515-9.
Baby RS, Gupta S, Varghes J. Related Risk Factors and Predictors of Occurrence of Delirium
Tremens in Patients with Alcohol Dependence Syndrome Underwent Inpatient Detoxification
Programmeat Tertiary Care Hospital, Kolenchery, Kerala, India. International Journal of
Innovative Research and Development [Internet]. 2015 [cited 2016 Feb 20];4:187-92.
Available from: http://www.ijird.com/index.php/ijird/article/download/85372/65588
สุนทร ชลประเสริฐสุข. แอลกอฮอล์กับโรคระบบทางเดินอาหาร. ใน สรายุทธ์ บุญชัยพานิชวัฒนา, ล่ำซำ
ลักขณาภิชนชัช, อังกูร ภัทรากร, อภิชาติ เรณูวัฒนานนท์ และนันทา ชัยพิชิตพันธ์ บรรณาธิการ. แนว
ปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะขาดแอลกอฮอล์. นนทบุรี: บริษัท เดอะกราฟิโก ซิสเต็มส์ จำกัด; 2564. หน้า
-88 .
Kim DW, Kim HK, Bae EK, Park SH, Kim KK. Clinical predictors for delirium tremens in patients
with alcohol withdrawal seizures. Am J Emerg Med 2015;33:701-4.
Goodson CM, Clark BJ, Douglas IS. Predictors of severe alcohol withdrawal syndrome: a
systematic review and meta-analysis. Alcohol ClinExp Res. 2014;38:2664-77.
Eyer F, Schuster T, Felgenhauer N, Pfab R, Strubel T, Saugel B, et al. Risk Assessment of
Moderate to Severe Alcohol Withdrawal--Predictors for Seizures and Delirium Tremens in the
Course of Withdrawal. Alcohol Alcohol 2011;46:427-33.
Victor M. The role of hypomagnesemia and respiratory alkalosis in the genesis of alcohol-
withdrawal symptoms. Ann N Y AcadSci 1973;215:235-48.
Baby RS, Gupta S, Varghes J. Related Risk Factors and Predictors of Occurrence of Delirium
Tremens in Patients with Alcohol Dependence Syndrome Underwent Inpatient Detoxification
Programmeat Tertiary Care Hospital, Kolenchery, Kerala, India. International Journal of
Innovative Research and Development [Internet]. 2015 [cited 2016 Feb 20];4:187-92.
Available from: http://www.ijird.com/index.php/ijird/article/download/85372/65588
Kraemer K.L., Mayo-Smith M.F. and Calkin D.R.. Independence clinical correlates severe
alcohol withdrawal. Substance Abuse 2003 24 (4): 197-209
อมราภรณ์ ฝางแก้ว. ปัจจัยทำนายภาวะถอนพิษสุราในผู้เสพติดสุรา. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2558.
วีรวัต อุครานันท์. ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด delirium จากการขาดสุราในผู้ป่วยติดสุราของโรงพยาบาลธัญญา
รักษ์แม่ฮ่องสอน. วารสารกรมการแพทย์ 44 (6): 39-45. 2562
Teerapat Teetharatkul and Arnont Vittayanont, Delirium Tremens in Psychiatric Ward at
Songklanagarind Hospital. J Health Sci Med Res 2018;36(3):205-214
Berggren U, Fahlke C, Berglund KJ, Blennow K, Zetterberg H, Balldin J. Thrombocytopenia in
early alcohol withdrawal is associated with development of delirium tremens or seizures.
Alcohol Alcohol 2009;44:382-6.
มนต์ชัย ศิริบำรุงศ์ และภัทรินทร์ ชมพูคำ. การรักษาทางกายในผู้ป่วยที่มีภาวะขาดแอลกอฮอล์. ใน สรายุทธ์
บุญชัยพานิชวัฒนา, ล่ำซำ ลักขณาภิชนชัช, อังกูร ภัทรากร, อภิชาติ เรณูวัฒนานนท์ และนันทา ชัยพิชิต
พันธ์ บรรณาธิการ. แนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะขาดแอลกอฮอล์. นนทบุรี: บริษัท เดอะกราฟิโก ซิส
เต็มส์ จำกัด; 2564. หน้า 55-74.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 โรงพยาบาลนครพนม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ โรงพยาบาลนครพนม
- ข้อความหรือข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความนั้นๆ ไม่ใช่ความเห็นของกองบรรณาธิการ