ผลลัพธ์และอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของการให้ยา Ibuprofen ในการรักษาทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีภาวะ PDA ในโรงพยาบาลนครพนม
คำสำคัญ:
patent ductus arteriosus, ทารกคลอดก่อนกำหนด, ibuprofenบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาผลลัพธ์และอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของการให้ยา Ibuprofen ในการรักษาทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีภาวะ PDA ในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดวิกฤตโรงพยาบาลนครพนม และเพื่อศึกษาอุบัติการณ์ของ PDA ในผู้ป่วยทารกเกิดก่อนกำหนดทุกรายในโรงพยาบาลนครพนม
วัสดุและวิธีการ: รูปแบบการวิจัยเป็นแบบ Retrospective descriptive study ศึกษากลุ่มประชากรทารกเกิดก่อนกำหนดทุกรายที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น PDA และกลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยา Ibuprofen ในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดวิกฤต โรงพยาบาลนครพนม ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 – 31 ธันวาคม 2564 โดยเก็บรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วย อาการแสดงของผู้ป่วย ประสิทธิผลของการรักษา รวมถึงภาวะแทรกซ้อนในระยะสั้นหลังการรักษา (ในช่วงที่มีการรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาล)
ผลการศึกษา: พบอุบัติการณ์ของ PDA ในผู้ป่วยทารกเกิดก่อนกำหนดร้อยละ 5.2 ยา Ibuprofen มีประสิทธิภาพในการปิดเส้นเลือดเกิน PDA ร้อยละ 87.5 พบผลข้างเคียงของยาร้อยละ 27.0 และไม่พบอัตราการตายจากการให้ยา Ibuprofen ในผู้ป่วย PDA
ข้อสรุป: การรักษาด้วยยา Ibuprofen มีประสิทธิผลร้อยละ 87.5 ผลข้างเคียงน้อยและไม่รุนแรงและไม่พบอัตราการตายจากการจากการให้ยา Ibuprofen ในผู้ป่วย PDA
References
Van Overmeire B, Smets K, Lecoutere D, Van de Broek H, Weyler J, Degroote K, Langhendries JP. A comparison of ibuprofen and indomethacin for closure of patent ductus arteriosus. N Engl J Med. 2000 Sep 7;343(10):674-81.
Van Overmeire B. The use of ibuprofen in neonates in the treatment of patent ductus arteriosus. Int J Clin Pract Suppl. 2003 Apr;(135):23-7.
Fakhraee SH, Badiee Z, Mojtahedzadeh S, Kazemian M, Kelishadi R. Comparison of oral ibuprofen and indomethacin therapy for patent ductus arteriosus in preterm infants. Zhongguo Dang Dai Er Ke Za Zhi. 2007 Oct;9(5):399-403.
Cherif A, Jabnoun S, Khrouf N. Oral ibuprofen in early curative closure of patent ductus arteriosus in very premature infants. Am J Perinatol. 2007 Jun;24(6):339-45
Sivanandan S, Bali V, Soraisham AS, Harabor A, Kamaluddeen M, Effectiveness and safety of indomethacinversusibuprofenfor thetreatmentofpatent ductus arteriosus in preterm infants. Am J Perinatol 2013;30:745-50.
Ohlsson A,Walia R, Shah SS. Ibuprofenfor thetreatment of patent ductus arteriosus in preterm and/or low birth weight infants. Cochrane Database Systemic Review 2020 Feb 11;2(2):CD003481.doi: 10.1002/14651858.CD003481.pub8.
Jinmiao Lu, MS,a Qin Li, MS,a Lin Zhu, MS,a Chao Chen, MD,b and Zhiping Li, MDa,∗
Oral ibuprofen is superior to oral paracetamol for patent ductus arteriosus in very low and extremely low birth weight infants. Medicine (Baltimore). 2019 Aug; 98(31): e16689.
Published online 2019 Aug 2. doi: 10.1097/MD.0000000000016689
Chotigeat U, Jirapapa K, Layangkool T. A comparison of oral ibuprofen and intravenous indomethacin for closure of patent ductus arteriosus in preterm infants. J Med Assoc Thai 2003;86(Suppl3):563-9.
Jirasakuldeeh V, Anuroj K, Layangkool P. Incidence of patent ductus arteriosus (PDA) in preterm infants of gestational age less than 33 weeks at NICU Bhumibol Adulyadej Hospital between 2005-2007. Royal Thai Air Force medical gazette 2009;55:17-27.
Supapannachart S, Limrungsikul A, Khowsathit P. Oral ibuprofen and indomethacin for treatment of patent ductus arteriosus in premature infants: a randomized trial at Ramathibodi Hospital. J Med Assoc Thai 2002;85(Suppl4):S1252-8.
Wasana P. Outcome and complication rates of PDA clipping and Ibuprofen/Indomethacin in the neonates at Prapokklao Hospital. J Prapokklao Hosp Clin Med Educat Center, Vol.37 No.1 Jan.-Mar. 2020.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 โรงพยาบาลนครพนม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ โรงพยาบาลนครพนม
- ข้อความหรือข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความนั้นๆ ไม่ใช่ความเห็นของกองบรรณาธิการ