@article{Banharak_2017, place={Khonkaen, Thailand}, title={The effect of delaying treatment among acute myocardial infarction patients: A systematic review}, volume={40}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nah/article/view/121499}, abstractNote={<p>กลามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันเปนสาเหตุสําคัญของการเสียชีวิตของผูปวยทั่วโลก ผูปวยจํานวนมากที่ได รับการรักษาลาชาจะประสบกับอาการไมพึงประสงคและภาวะแทรกซอนตางๆ อยางไรก็ตาม ยังไมมีการศึกษาและ รวบรวมวาอาการไมพึงประสงคหรือภาวะแทรกซอนจากการไดรับการรักษาลาชาประกอบดวยอะไรบาง และมี ความแตกตางกันอยางไรระหวางผูที่ไดรับการรักษาลาชาและผูที่ไดรับการรักษาทันเวลา การทบทวนวรรณกรรม อยางเปนระบบครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อทําการรวบรวมและสรุปผลของการไดรับการรักษาลาชาของผูปวยกลาม เนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ผูวิจัยทําการสืบคนงานวิจัยจาก 5 ฐานขอมูล ไดรายงานการวิจัยทั้งสิ้น 35 เรื่อง นิยาม ของการไดรับการรักษาลาชา ไดแก การไดรับการรักษาหลังมีอาการ 1, 2, 3, 6, และ 12 ชั่วโมง สวนใหญทําการ ศึกษาการไดรับการรักษาลาชาในระยะกอนเขารับการรักษาในโรงพยาบาล ถึงแมวานักวิจัยจะรายงานผลการศึกษา ที่ขัดแยงกันแตการศึกษาสวนใหญรายงานวา การไดรับการรักษาลาชามีความสัมพันธกับการตรวจพบคลื่นเอสที ยกและคลื่นคิว ประสิทธิภาพการทํางานของหัวใจลดลง การเพิ่มขึ้นของเอนไซมกลามเนื้อหัวใจ จํานวนของภาวะ แทรกซอน ระดับความปวดและความวิตกกังวลสูง ระยะเวลาการนอนในโรงพยาบาลนาน คารักษาสูง การเกษียณ จากงานเร็ว และอัตราการตายสูง การศึกษาครั้งตอไปควรทําการวิเคราะหเมทตาเพื่อใหสามารถตัดสินผลจากการ ไดรับการรักษาลาชาไดชัดเจนยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การทบทวนวรรณกรรมอยางเปนระบบเกี่ยวกับโปรแกรมที่ชวย ลดระยะเวลาในการไดรับการรักษายังเปนหัวขอที่สําคัญที่จะชวยใหสามารถคนหาโปรแกรมที่เหมาะสมในการ จัดการกับปญหาการไดรับการรักษาลาชาในผูปวยกลุมดังกลาว</p> <p>Acute myocardial infarction (AMI) is a major cause of death for patients around the world. Many patients who delay treatment often experience negative outcomes. However, there is so much we do not know about what negative outcomes are and how they difference between the groups that did delay and did not delay treatment, a systematic review is needed. This systematic review evaluated the effect of delaying treatment among AMI patients by searching on five data bases. Thirty five empirical articles were accepted for this review. The definitions of delay treatment were 1, 2, 3, 6, and 12 hours to receive treatment after symptom onset. Almost every researcher studied in the pre-hospital phase. Although the researchers reported contrasting research findings, almost every study reported that delaying treatment was associated with STEMI, Q-wave MI, cardiac dysfunction, cardiac enzyme elevation, a number of complications, high level of pain and anxiety, long length of stay, high cost, early retirement, and high mortality rate. Meta-analysis is needed to determine the effects of delaying treatment. Intervention to decrease time to get treatment is an important topic for the next review to determine appropriate interventions shorten time to treatment.</p> <p> </p>}, number={4}, journal={Journal of Nursing Science and Health}, author={Banharak, Samoraphop}, year={2017}, month={Dec.}, pages={107–120} }