TY - JOUR AU - บุญพา, สมจิต AU - สกุลคู, พรพรรณ PY - 2018/08/08 Y2 - 2024/03/29 TI - พฤติกรรมการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกพริก บ้านดอนแดงใหญ่ ตาบลหนองเหล่า อาเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี JF - วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น JA - KKU J for Pub Health Res VL - 11 IS - 1 SE - นิพนธ์ต้นฉบับ DO - UR - https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/139783 SP - 38-46 AB - <p>การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional survey research) มี<br>วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกพริก บ้านดอนแดง<br>ใหญ่ ตาบลหนองเหล่า อาเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์และ<br>การสังเกตพฤติกรรมในกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูกพริก จานวน 77 คน โดยใช้สถิติพรรณนา<br>วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม STATA<br>ผลการศึกษาพบว่าเกษตรกรผู้ปลูกพริกส่วนมากเป็นเพศชาย (ร้อยละ 67.53) อายุเฉลี่ย 48 ปี<br>ส่วนใหญ่จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา (ร้อยละ 66.23) เกษตรกรบางส่วนเป็นผู้นาในชุมชน (ร้อยละ<br>75.32) โดยเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) เกษตรกรมีขนาดพื้นที่ถือครองทาง<br>การเกษตรเฉลี่ย 19 ไร่ต่อคน แต่มีพื้นที่ปลูกพริกเฉลี่ยเพียง 2 ไร่ต่อคน มีรายได้ที่มาจากการปลูกพริก<br>เฉลี่ย 80,291 บาทต่อปี ส่วนใหญ่เกษตรกรผู้ปลูกพริก (ร้อยละ 84.21) กู้เงินมาลงทุน เฉลี่ยรายละ<br>117,302 บาท การกู้ยืมนิยมกู้จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรและกองทุนหมู่บ้าน<br>เกษตรกรมีประสบการณ์ในการปลูกพริกเฉลี่ย 15 ปี โดยเริ่มเพาะกล้าช่วงเดือนกันยายน พันธุ์พริกที่<br>นิยมปลูกถึงร้อยละ 46 คือ พันธุ์หัวเรือดอและ พันธุ์จินดา ปลูกเป็นแถวคู่ ระยะ 150x150 เซนติเมตร<br>จานวน 1 ต้นต่อหลุม ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ด้วยวิธีโรยรอบทรงพุ่ม<br>เกษตรกรกาจัดวัชพืชโดยใช้แรงงานคนและพ่นสารเคมี โรคพริกที่พบเป็นปัญหา คือ โรครากและโคน<br>เน่า โรคราแป้ง โรคกุ้งแห้ง โรคใบจุด โรคยอดเหี่ยว โรคใบหงิก และโรคใบด่าง ตามลาดับ แมลงศัตรู<br>พริก คือ หนอนแมลงวันทอง หนอนกระทู้ผัก หนอนเจาะสมอฝ้าย เต่าทอง ไรขาว เพลี้ยอ่อน และ<br>เพลี้ยไฟ ตามลาดับ เกษตรกรเก็บเกี่ยวพริกผลสุก (สีแดง)มีพฤติกรรมการใช้สารเคมีป้องกันและกาจัด<br>ศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกพริกจากการศึกษา 30 ประเด็น เกษตรกรมีการปฏิบัติตามคาแนะนาใน<br>การใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชทุกครั้ง แต่ยังคงมีหลายประเด็นที่เกษตรกรยังคงมีการปฏิบัติบางครั้งซึ่ง<br>เป็นพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการรับสัมผัสสารเคมีได้มาก คือ การใช้ปากเปิดขวดสารเคมีและใช้ปากเป่า<br>หรือดูดหัวฉีดพ่นสารเคมีเมื่อประสบปัญหาการอุดตันของหัวฉีดซึ่งเกษตรกรให้เหตุผลว่าเป็นเรื่องที่<br>สุดวิสัยเนื่องจากอยู่กลางสวนเวลาหัวฉีดตันถ้าไปหาช่างระยะทางไกล และกลัวว่าจะฉีดพ่นสารไม่<br>เสร็จ<br>การสร้างความตระหนักด้านผลกระทบและความรุนแรงเกี่ยวกับการใช้สารกาจัดศัตรูพืชให้กับ<br>เกษตรกร เน้นกระบวนการ การมีส่วนร่วมของชุมชนรวมถึงการให้ข้อมูลความรู้ในการป้องกันอันตราย<br>ส่วนบุคคลในเกษตรกร ซึ่งจะมีผลต่อพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการป้องกันหรือ ลดปัญหาจากการได้รับ<br>ผลกระทบจากการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชได้ดี อันนาไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้นต่อไป</p> ER -