TY - JOUR AU - ส่งเสริม, นพรัตน์ AU - พรหมเทศ, สุพรรณี PY - 2018/04/11 Y2 - 2024/03/29 TI - บทวิเคราะห์มะเร็งท่อน้ำดี: ความรู้ บทบาทและความท้าทายของนักสาธารณสุข ในการป้ องกันและควบคุมในประเทศไทย JF - วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น JA - KKU J for Pub Health Res VL - 4 IS - 3 SE - บทความปริทัศน์ DO - UR - https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/118852 SP - 97-103 AB - <p>มะเร็งท่อน้ำดีเป็ นมะเร็งของเซลล์เยื่อบุท่อน้ำดีในตับและนอกตับ มีอุบัติการณ์สูงสุดในภาค<br>ตะวันออกเฉียงเหนือและยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในทุกศูนย์ของทะเบียนมะเร็งทั่วประเทศไทย<br>มะเร็งท่อน้ำดีมีปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ ได้แก่ การติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์<br>การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารที่ปนเปื้ อนพยาธิใบไม้ตับและสารไนโตรซามีน โรคเรื้อรัง<br>ในระบบท่อน้ำดี และปัจจัยทางพันธุกรรม ผู้ป่ วยมะเร็งท่อน้ำดีพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงประมาณ<br>3 เท่า และพบมากในกลุ่มอายุ 45-55 ปี อาการของมะเร็งท่อน้ำดีมี 2 กลุ่มอาการคือ กลุ่มอาการ<br>ตัวเหลืองตาเหลืองและกลุ่มอาการตับโต การวินิจฉัยสามารถทำได้ทั้งในระยะเริ่มต้นและระยะ<br>มีอาการ ซึ่งจะมีผลดีต่อการวางแผนในการรักษาต่อไป มะเร็งท่อน้ำดีมักไม่แสดงอาการเริ่มแรก<br>และยังไม่มีการวินิจฉัยหรือตรวจคัดกรองที่จำเพาะในระยะเริ่มแรก ผู้ป่ วยจะมาพบแพทย์เมื่อ<br>มีอาการในระยะสุดท้าย ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะทำการคัดกรองมะเร็งท่อน้ำดีในระยะ<br>เริ่มแรกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาและเพิ่มอัตราการรอดชีพของผู้ป่ วย อย่างไรก็ตาม<br>เนื่องจากปัจจุบันมะเร็งท่อน้ำดียังมีอัตราการตายสูงและการรักษายังมีต้นทุนที่สูงเช่นกัน ดังนั้น<br>การส่งเสริมสุขภาพและการป้ องกันโรคจึงมีความสำคัญและมีประโยชน์มากที่สุดต่อประชาชน<br>กลุ่มเสี่ยง ซึ่งนับเป็นบทบาทที่สำคัญและท้าทายมากสำหรับนักสาธารณสุขในทุกระดับ</p> ER -