@article{ดีรักษา_รักษาแสง_แสนไชยสุริยา_2018, title={ภาวะเลือดจางภาวะขาดธาตุเหล็กภาวะเลือดจางจากการขาดธาตุเหล็กในชาวเขา ชาติพันธุ์กะเหรี่ยงปกาเกอะญอ}, volume={11}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/139776}, abstractNote={<p>ชนกลุ่มน้อยเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพหลายประการ รวมทั้งภาวะเลือดจาง<br>การศึกษานี้ทาการสารวจความชุกของภาวะเลือดจาง ภาวะขาดธาตุเหล็ก และภาวะเลือด<br>จางจากการขาดธาตุเหล็ก ในชาวเขาชาติพันธุ์กะเหรี่ยง อาสาสมัครประกอบด้วยเพศชาย<br>จานวน 109 คน และเพศหญิง จานวน 156 คน อายุระหร่าง 18-87 ปี เก็บข้อมูลพื้นฐาน<br>จากอาสาสมัครทุกราย ด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม เก็บตัวอย่างเลือดนาไป<br>ตรวจวัดค่าทางโลหิตวิทยา, เฟอร์ไรตินในซีรัม และโปรตีนซี-รีแอคทีฟวินิจฉัยภาวะเลือด<br>จาง ภาวะขาดธาตุเหล็ก และภาวะเลือดจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยใช้เกณฑ์องค์การ<br>อนามัยโลก ตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียโดยใช้ค่าดัชนีเม็ดเลือดแดง ร่วมกับการแยกชนิด<br>ฮีโมโกลบินด้วยวิธีอิเล็คโตรโฟลิซิส วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะเลือดจางด้วย<br>สถิติ multiple logistic regressionผลการศึกษาพบความชุกภาวะเลือดจาง ภาวะขาด<br>ธาตุเหล็ก และภาวะเลือดจางจากขาดธาตุเหล็ก ร้อยละ 13.6 (95% CI=9.4-17.7), 3.8<br>(95% CI=1.5-6.1) และ2.3 (95% CI=0.5-4.0)ตามลาดับ และพบว่าการเกิดภาวะเลือด<br>จางสัมพันธ์กับผลการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียที่เป็นบวก (OR=44.8, 95 % CI=16.5-<br>121.6) และช่วงอายุที่มากกว่า 60 ปี (OR=4.8, 95% CI=1.4-16.2) ผลการศึกษา แสดง<br>ให้เห็นว่า ภาวะเลือดจางในชนกลุ่มน้อยน่าจะเกิดจากความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ของการ<br>สร้างฮีโมโกลบินมากกว่าการขาดธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานสาหรับบุคลากรด้าน<br>สาธารณสุขที่เกี่ยวข้องในการให้คาแนะนาการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมสาหรับประชากร<br>กลุ่มนี้</p>}, number={1}, journal={วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น}, author={ดีรักษา ลลิตภัทร and รักษาแสง มัณฑณีย์ and แสนไชยสุริยา กนกวรรณ}, year={2018}, month={ส.ค.}, pages={18–27} }