@article{กุลรัตนาวิโรจน์_บัวพุ่ม_ยอดทองดี_2017, title={ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง จังหวัดชัยนาท}, volume={7}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/121789}, abstractNote={<p>การวิจัยนี้เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ป่วย<br>โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ขึ้นทะเบียนกับสถานบริการสาธารณสุขของจังหวัดชัยนาท จำนวน<br>400 คน จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน<br>เบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนพบว่า<br>ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<<br>0.001) คือ กลุ่มปัจจัยร่วม ได้แก่อิทธิพลระหว่างบุคคล ปัจจัยแวดล้อมพฤติกรรมเดิมและปัจจัยด้านความรู้-การ<br>รับรู้ ได้แก่ การรับรู้การควบคุมสุขภาพ การรับรู้ความสามารถของตน การรับรู้สถานะสุขภาพ การรับรู้ประโยชน์<br>และการรับรู้อุปสรรคของการมีพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพรวมทั้งสิ่งชักนำให้ปฏิบัติซึ่งประกอบด้วย สิ่งกระตุ้น<br>ภายในและสิ่งกระตุ้นภายนอกทั้งนี้พบว่า พฤติกรรมเดิม การรับรู้สถานะสุขภาพ การรับรู้ประโยชน์ของการมี<br>พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ปัจจัยแวดล้อม สิ่งกระตุ้นภายนอก ความหมายสุขภาพ รายได้ การรับรู้<br>ความสามารถของตนเอง การรับรู้การควบคุมสุขภาพและความสำคัญของสุขภาพ สามารถร่วมกันทำนาย<br>พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้ร้อยละ 47.6<br>ดังนั้นการสนับสนุนพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของ<br>จังหวัดชัยนาท ต้องส่งเสริมการรับรู้สถานะสุขภาพ การรับรู้ประโยชน์ของการมีพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ<br>ปัจจัยแวดล้อม สิ่งกระตุ้นภายนอก ความหมายสุขภาพ รายได้ การรับรู้ความสามารถของตนเอง การรับรู้การ<br>ควบคุมสุขภาพ ความสำคัญของสุขภาพ พฤติกรรมเดิม</p>}, number={1}, journal={วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น}, author={กุลรัตนาวิโรจน์ ปารวีร์ and บัวพุ่ม พรเจริญ and ยอดทองดี นภัสสร}, year={2017}, month={ก.ค.}, pages={50–57} }