@article{ทับทิม_ดวงสงค์_2017, title={ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ตำบลมหาชัย อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม}, volume={7}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/121785}, abstractNote={<p>การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง และวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนา<br>พฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ตำบลมหาชัย อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม<br>โดยการประยุกต์ ใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพและกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมของชุมชน มา<br>ประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมทางพฤติกรรมศึกษา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 80 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่ม<br>เปรียบเทียบ กลุ่มละ 40 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ<br>กิจกรรมประกอบด้วย การบรรยายภาพประกอบแบบสื่อ วีดีทัศน์ ตัวแบบ การอภิปรายกลุ่ม การจัดบอร์ด<br>และได้รับการสนับสนุนทางสังคม จาก อสม. ผู้ปรุงประกอบอาหารในครัวเรือน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อน<br>บ้านและผู้วิจัย ระยะเวลาดำเนินการ 12 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล<br>ทั่วไปโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์<br>เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนด้วยสถิติ Paired Sample t-test และ Independent t-test, 95%<br>Confident Interval กำหนดระดับนัยสำคัญที่ 0.05<br>ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนน ด้านความรู้เรื่องโรคพยาธิ<br>ใบไม้ตับของประชาชน การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคพยาธิใบไม้ตับ การรับรู้ความรุนแรงของการเกิด<br>โรคพยาธิใบไม้ตับ การรับรู้ถึงประโยชน์และอุปสรรคของการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ และการปฏิบัติตัวเพื่อ<br>ป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางมีสถิติ<br>(p-value<0.001) ข้อเสนอแนะ การให้ผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีมาเล่าอาการของผู้ป่วยทำให้ประชาชนมี<br>ความกลัวโรคพยาธิใบไม้ตับมากขึ้น นอกจากนี้พบว่าผู้ปรุงอาหารในครัวเรือนปรุงอาหารสุกให้สมาชิกใน<br>ครัวเรือนรับประทานทำให้สมาชิกในครัวเรือนรับประทานอาหารมากขึ้น</p>}, number={1}, journal={วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น}, author={ทับทิม พลอยไพลิน and ดวงสงค์ รุจิรา}, year={2017}, month={ก.ค.}, pages={25–34} }