@article{นทีวัฒนา_2017, title={แนวคิดและทัศนคติต่อการจัดการขยะของนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยาเพื่อพัฒนารูปแบบการ จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม}, volume={7}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/121774}, abstractNote={<p>การศึกษาแนวคิดและทัศนคติต่อการจัดการขยะภายในมหาวิทยาลัยพะเยามีความสาคัญอย่างยิ่ง<br>ต่อการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจสถานการณ์<br>ปัญหา แนวคิด และทัศนคติต่อการจัดการขยะของมหาวิทยาลัยในภาคส่วนของนิสิตนักศึกษา และนาผลที่<br>ได้รับไปพัฒนารูปแบบกิจกรรมการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมในมหาวิทยาลัยพะเยา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้<br>สถิติพรรณนาและสถิติวิเคราะห์ได้แก่ การค่าหาเฉลี่ย ไคร์สแควร์ และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธีดีเอ็มอาร์ที<br>(Duncan’s Multiple Range Test; DMRT)<br>ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาขยะเมื่อเรียงลาดับความสาคัญเกิดจากการขาดการมีส่วนร่วม การขาด<br>การจัดการที่ดี และการขาดจิตสานึกโดยนิสิตเห็นด้วยและเห็นด้วยอย่างยิ่งมากกว่าร้อยละ 80 ว่า การรับรู้<br>ข่าวสารมีประโยชน์ในการจัดการขยะ และขยะเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า สามารถหมุนเวียนมาใช้ประโยชน์<br>และสร้างรายได้ และขยะอันตรายควรทาการคัดแยก แนวทางการจัดการขยะ นิสิตให้ความสาคัญในการลด<br>ขยะจากแหล่งกาเนิดถึงร้อยละ 90 รองลงมาคือ การใช้มาตรการ 5R ได้แก่ การลดการใช้ (Reduce) การ<br>ปฏิเสธการใช้ (Reject) การใช้ซ้า (Reuse) การนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และการซ่อมแซม (Repair) ร้อย<br>ละ 80 และควรดาเนินการจัดการขยะตามแนวทางลาดับชั้นการจัดการของเสีย (Waste Hierarchy) ถึงร้อย<br>ละ 83.1 ในความคิดเห็นระดับเห็นด้วยขึ้นไป เรื่องการคัดแยกขยะนิสิตเห็นด้วยและเห็นด้วยอย่างยิ่งมากกว่า<br>ร้อยละ 80 ว่าการคัดแยกขยะ ช่วยเพิ่มรายได้ ลดปริมาณขยะ และรักษาสิ่งแวดล้อม อุปสรรคในการคัดแยก<br>เกิดจากความยุ่งยาก ไม่มีแรงจูงใจ ไม่ทราบว่าต้องคัดแยกขยะชนิดใดบ้างและจะนาไปทาอะไร เรื่องกา ร<br>ปรับปรุงระบบจัดการขยะ เสนอให้มีการเก็บขนขยะสม่าเสมอ และเพิ่มถังขยะให้มากขึ้น และปรับปรุงระบบ<br>ฝังกลบขยะให้ถูกหลักสุขาภิบาล เพิ่มการนาขยะใช้ประโยชน์ โดยนิสิตต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ<br>ขยะของมหาวิทยาลัยพะเยาถึงร้อยละ 82.9 และสนับสนุนให้มีภาคีต่างๆ เข้าร่วมเช่น เทศบาล องค์การ<br>บริหารส่วนตาบล เป็นต้น ในการส่งเสริมการจัดการขยะในพื้นที่ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างมหาวิทยาลัย<br>พะเยาและตาบลแม่กาเป็นสังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน</p>}, number={2}, journal={วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น}, author={นทีวัฒนา จอมจันทร์}, year={2017}, month={ก.ค.}, pages={47–54} }