@article{คงทอง_โรจนวรรณ_2018, title={ฟิ ล์มเสียจากการถ่ายภาพรังสีวินิจฉัย โรงพยาบาลศูนย์ตรัง}, volume={5}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/118161}, abstractNote={<p>การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา แบบย้อนหลังนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบอัตรา และสาเหตุ<br>ฟิ ล์มเสียในการถ่ายภาพรังสีวินิจฉัย ของกลุ่มงานรังสีวิทยาโรงพยาบาลศูนย์ตรัง ประชากรและ<br>กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ฟิ ล์มทุกประเภทที่ใช้ในการถ่ายภาพรังสีวินิจฉัยให้กับผู้ป่ วย<br>จำนวนทั้งสิ้น 57,077 แผ่น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้<br>สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด และค่าต่ำสุด ผลการศึกษา<br>พบว่า การดำเนินงานรังสีวินิจฉัยของโรงพยาบาลตรัง มีฟิ ล์มเสียทั้งสิ้น 5,024 แผ่น มีสาเหตุที่ทำ<br>ให้ฟิล์มเสียมากกว่าร้อยละ 2 ได้แก่ Positioning และ Under exposure ร้อยละ 28.2 และ 23.9<br>ตามลำดับ โรงพยาบาลศูนย์ตรังใช้ฟิ ล์มเพื่อให้บริการผู้ป่ วยในปี 2552 ทั้งสิ้น 57,077 แผ่น เป็น<br>ฟิ ล์มเสีย ร้อยละ 8.80 โดยมีสัดส่วนฟิ ล์มเสียต่อฟิ ล์มที่ใช้ 1:11.35 มีฟิ ล์มเฉลี่ยเดือนละ<br>4,756.41 แผ่น ในส่วนของฟิ ล์มเพื่อให้บริการผู้ป่ วยแล้วเสีย เฉลี่ย 418.66 แผ่นต่อเดือน เมื่อ<br>จำแนกฟิ ล์มเสียต่อวัน พบฟิ ล์มเสียเฉลี่ย 13.76 แผ่นต่อวัน โรงพยาบาลศูนย์ตรังใช้ฟิ ล์มถ่ายซ้ำ<br>ทั้งสิ้น 4,675 แผ่น เฉลี่ยใช้ฟิ ล์มถ่ายซ้ำเดือนละ 389.58 แผ่น พบการใช้ฟิ ล์มถ่ายซ้ำเฉลี่ยวันละ<br>12.8 แผ่น เมื่อพิจารณาอัตราฟิ ล์มเสีย พบอัตราฟิ ล์มเสียเฉลี่ยทั้งปี ร้อยละ 8.09 และอัตราฟิ ล์ม<br>เสียจากการถ่ายซ้ำ ร้อยละ 7.66 ข้อเสนอแนะ โรงพยาบาลศูนย์ตรังมีฟิ ล์มเสียที่เกิดจากการฉาย<br>รังสีวินิจฉัย ด้วยสาเหตุต่างๆจึงทำให้สูญเสียงบประมาณของโรงพยาบาลโดยที่ไม่มีความจำเป็นปี<br>ละหลายล้านบาท ผู้บริหารควรให้ความสำคัญในการปรับปรุงพัฒนาการทำงานของกลุ่มงานรังสี<br>วิทยาอย่างจริงจัง</p>}, number={2}, journal={วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น}, author={คงทอง พัทธนันท์ and โรจนวรรณ ปัญญา}, year={2018}, month={เม.ย.}, pages={21–28} }