@article{เศรษฐีธรรม_นาถะพินธุ_อิชิดะ_ปัดเต_2018, title={พฤติกรรมเสี่ยงและปัจจัยที่ส่งผลต่อสภาวะสุขภาพของเกษตรกรทำนา}, volume={6}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/118062}, abstractNote={<p>การวิจัยเชิงสารวจแบบภาคตัดขวาง เพื่อหาระดับความรู้ พฤติกรรมเสี่ยงของเกษตรกรทำนา<br>ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสภาวะสุขภาพ และสภาวะสุขภาพของเกษตรกรท านาปลูกข้าว ศึกษาในกลุ่มชาวนา <br>233 คน จาก 6 หมู่บ้าน ในอ าเภอค าชะอี จังหวัดมุกดาหาร โดยใช้แบบสอบถามถามข้อมูลในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา<br>ผลการศึกษาพบว่า ชาวนามีความรู้ถูกต้องระดับสูง ร้อยละ 84.1 พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพในการ<br>ท านา ได้แก่ ขาดการป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในทุกขั้นตอนของการท านา ใช้มือเปล่าก าข้าวเปลือกหว่านใน<br>แปลงนา ร้อยละ74.6 ใส่รองเท้าบู๊ทขณะด านา ปฏิบัติบางครั้ง ร้อยละ 54.5 ก้มเงยขณะปักด ากล้า และเกี่ยว<br>ข้าวปฏิบัติบ่อยๆ ร้อยละ 46.4 และปฏิบัติทุกครั้ง ร้อยละ 44.6 ใช้ข้อมือ หรือมือ นานๆ ขณะเกี่ยวข้าว ปฏิบัติ<br>บางครั้ง ร้อยละ 45.5 ปฏิบัติทุกครั้ง ร้อยละ 43.8 ดื่มสุราในเวลาท านา ปฏิบัติทุกครั้ง บ่อยๆ และบางครั้ง <br>รวมกัน ร้อยละ 32.6 เป็นต้น ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสภาวะสุขภาพของเกษตรกรท านา คือ การปักด านา <br>มีความสัมพันธ์กับการปวดกล้ามเนื้อเอวของชาวนา 6.35 เท่า ของชาวนาที่ไม่ท ากิจกรรมปักด านา <br>(95%CI=2.09-19.29, p-value=0.001) และการก าจัดวัชพืช ท าให้ปวดกล้ามเนื้อเอว 5.56 เท่า มากกว่า<br>ชาวนาที่ไม่ท ากิจกรรมนี้ (95%CI=1.75-17.62, p-value=0.003) ชาวนาได้รับผลกระทบจากรถไถนา คือ<br>กลิ่นควันจากน้ ามันดีเซล ร้อยละ 89.7 ได้รับแรงสั่นสะเทือน ร้อยละ 87.9 ได้รับเสียงดัง ร้อยละ 87.5 แพ้ฝุ่น<br>ข้าวเปลือก ร้อยละ 48.5 การปวดกล้ามเนื้อเกิดจาก แบกภาชนะใส่เมล็ดข้าวเปลือก ร้อยละ 90.1 เคลื่อนไหว<br>ร่างกายไม่ถูกต้อง ร้อยละ 95.7 การบาดเจ็บจาก หญ้าบาดมือ ร้อยละ 45.9 ปวดมือจากการเกี่ยวข้าว ร้อยละ <br>91.8 เคียวบาดมือ ร้อยละ 51.3 กิจกรรมในกระบวนการท านาที่ท าให้ปวดกล้ามเนื้อ ได้แก่ เกี่ยวข้าว ร้อยละ <br>87.1 ปักด ากล้า ร้อยละ 79.8 ก าจัดวัชพืช ร้อยละ 74.3 เตรียมพื้นที่ ร้อยละ 59.5 หว่านเมล็ดข้าวเปลือก <br>ร้อยละ 55.8 เก็บเมล็ดพันธุ์ ร้อยละ 43.4<br>ปัญหาการปวดกล้ามเนื้อและการบาดเจ็บในกลุ่มคนท านา พบว่ามีสาเหตุจากพฤติกรรมเสี่ยงและ<br>ปัจจัย ดังนั้น การศึกษาต่อไปควรออกแบบกิจกรรมแทรกแซงเพื่อแก้ไขปัญหา</p>}, number={2}, journal={วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น}, author={เศรษฐีธรรม ดาริวรรณ and นาถะพินธุ กาญจนา and อิชิดะ วรรณภา and ปัดเต ทวีศักดิ์}, year={2018}, month={เม.ย.}, pages={4–12} }