@article{สุขลิ้ม_หมัดเต๊ะ_ศรีสุวรรณ_สิมลา_2022, title={ปริมาณไอโซฟลาโวนในถั่วเหลืองกับการเกิดมะเร็งเต้านม : การทบทวนวรรณกรรม และการวิเคราะห์เชิงอภิมาน}, volume={1}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jphri/article/view/258761}, abstractNote={<p><strong>บทนำ:</strong> มะเร็งเต้านมป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของผู้หญิงมากที่สุดในโลก มีรายงานหลายฉบับระบุว่าการบริโภคถั่วเหลืองที่มีสาร Isoflavone ในระดับสูงนั้นสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านมได้ อย่างไรก็ตามมีผลการศึกษายังมีข้อถกเถียงในด้านปริมาณของ Isoflavone ที่มารถป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านม ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับประทาน Isoflavone กับมะเร็งเต้านม</p> <p><strong>วิธีการศึกษา:</strong> จากการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ปีค.ศ. 2010 – 2019 โดยสืบค้นจากฐานข้อมูลดังนี้ PubMed, Science Direct, Web Of Science, World Health Organization (WHO), International Agency For Research On Cancer (IARC), Center For Disease Control And Prevention, Cellular And Molecular Biomechanism Laboratory, United States Department Of Agriculture และสถาบันมะเร็งแห่งชาติในประเทศไทย โดยได้บทความวิจัยที่ตรงกับเกณฑ์การคัดเข้าทั้งหมด 8 ฉบับ จากนั้นทำการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ</p> <p><strong>ผลการศึกษา</strong>: การบริโภคปริมาณสารไอโซฟลาโวนในคนเอเชียสามารถลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งเต้านมได้นั้นควรบริโภค 25.42 mg/d  และการบริโภคปริมาณสารไอโซฟลาโวนในคนยุโรปสามารถลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งเต้านมได้นั้นควรบริโภค 5.79 mg/d</p> <p><strong>สรุปผล</strong>: ปริมาณการบริโภคไอโซฟลาโวนของคนเอเชียเท่ากับ 25.42 mg/d และคนยุโรปเท่ากับ 5.79 mg/d</p>}, number={1}, journal={วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางสาธารณสุข}, author={สุขลิ้ม ธิติยา and หมัดเต๊ะ เมธารัตน์ and ศรีสุวรรณ วราภรณ์ and สิมลา วิชชาดา}, year={2022}, month={พ.ย.}, pages={43–54} }