@article{แสนสุภา_แสงชาติ_2013, place={Khon Kaen, Thailand}, title={ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์และดัชนีชี้วัดด้านสุขภาพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ The effectiveness of self-management program on antiretroviral adherence and health indicators in HIV/AIDS patient}, volume={30}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jnat-ned/article/view/3365}, abstractNote={<p>This quasi-experimental research was to examine the effectiveness of self-management program on antiretroviral adherence and health indicators in  HIV/AIDS patient with HIV/AIDS patient at Nakea Hospital, Nakhon Phanom Province. The conceptual model used in this study was Kanfer’s self-management model. Thirty participants were purposively selected and match pairs assigned to the experimental and control group, 15 in each group. The experimental group received the self-management program, while those in the control group received routine nursing.The period of study was six mouth.</p> <p>The results showed that</p> <p>1) In the experimental group after receiving the program the mean adherence score was significantly higher than before (t = 16.23, P <0.05), CD4 level was significantly higher than before (t = 2.80, P <0.05), and BMI was significantly higher than before (t = 2.73, P. <0.05).</p> <p>2) After receiving program the mean adherence score was higher in the experimental</p> <p>group than in the control group (t = 10.85, P <0.05), CD4 level was higher in the experimental</p> <p>group than in the control group (t = 1.94, P <0.05), and BMI was higher in the experimental group than in the control group (t. = 1.94, P <0.05).</p><p>การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสง์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์และดัชนีชี้วัดด้านสุขภาพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลนาแก จังหวัดนรพนม โดยนำแนวคิดการจัดการตนเองของแคนเฟอร์ มาเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่มีความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์น้อยกว่าร้อยละ 95 มีอายุตั้งแต่ 15 -60 ปี จำนวน 30 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนด และมีการจับคู่ให้กลุ่มตัวอย่างแต่ละคู่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันมากที่สุด  เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 15 คน มีระยะเวลาการดำเนินโปรแกรม 24 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่า</p> <p>1.                ในกลุ่มทดลองหลังสิ้นสุดโปรแกรมมีความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์, ระดับ CD4 และค่าดัชนีมวลกาย เพิ่มขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05</p> <p>2.                เปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม พบว่า ภายหลังสิ้นสุดโปรแกรมกลุ่มทดลองมีความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์, ระดับ CD4, และค่าดัชนีมวลกาย เพิ่มมากขึ้นกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงประสิทธิผลของโปรแกรมการจัดการตนเองในการส่งเสริมให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์มีพฤติกรรมการจัดการตนเองที่ดีขึ้น</p>}, number={3}, journal={วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ}, author={แสนสุภา วรรณ์นิภา and แสงชาติ บำเพ็ญจิต}, year={2013}, month={ก.พ.}, pages={58–67} }