TY - JOUR AU - Tanaree, Athip AU - Kaewphila, Nisakorn AU - Nimnuan, Benja AU - Boonman, Setthapong AU - Bhumijeen, Lawinvichchayapong AU - Suntarowit, Nuttaphat PY - 2017/09/30 Y2 - 2024/03/29 TI - การรับบริการสุขภาพจิตและสาเหตุที่ไม่เข้ารับบริการสุขภาพจิตของผู้ป่วยจิตเวชไทย JF - วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย JA - J Ment Health Thai VL - 25 IS - 3 SE - นิพนธ์ต้นฉบับ DO - UR - https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmht/article/view/142769 SP - 175-186 AB - <p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; วัตถุประสงค์</strong><strong>&nbsp; </strong>ศึกษาอัตราการรับบริการสุขภาพจิต ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และสาเหตุที่ไม่เข้ารับบริการสุขภาพจิตของผู้ป่วยจิตเวชในช่วง 12 เดือน</p><p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; วัสดุและวิธีการ &nbsp;</strong>ข้อมูลจากการสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทย ระดับชาติ ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ที่เป็นการสำรวจภาคตัดขวาง ในคนไทยอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป เฉพาะผู้ป่วยจิตเวชตามเกณฑ์วินิจฉัยจากเครื่องมือ World Mental Health-Composite International Diagnostic Interview 3.0 (WMH-CIDI 3.0) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา คำนวณค่าประมาณสัดส่วนโดยการถ่วงน้ำหนัก รายงานค่าความชุกเป็นร้อยละ standard error และ chi-square รายงานขนาดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเป็น odds ratio</p><p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผล </strong><strong>&nbsp;</strong>ในช่วง 12 เดือน มีผู้ป่วยจิตเวชจำนวน 384 คน เป็นชายร้อยละ 53.9 อายุ 40-55 ปี ร้อยละ 37.2 มีอัตราเข้ารับบริการสุขภาพจิตจากบุคลากรสาธารณสุข ร้อยละ 6 โดยมีอัตราการรับบริการจากแพทย์ทั่วไป หรือแพทย์ประจำบ้านมากที่สุด ปัจจัยที่เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการสุขภาพจิตได้แก่ หญิง ช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป มีโรคเรื้อรังทางกาย และกลุ่มความผิดปกติจากพฤติกรรมการเสพสารเสพติด ทั้งนี้ผู้ป่วยจิตเวชที่ไม่เข้าถึงบริการสุขภาพจิต พบว่าสาเหตุที่ไม่พบผู้ให้การรักษาเพราะคิดว่าตัวเองไม่มีปัญหา ร้อยละ 62.6</p><p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สรุป&nbsp; </strong>ผู้ป่วยจิตเวชเกือบทั้งหมดไม่เข้ารับบริการสุขภาพจิต เหตุที่ไม่เข้ารับบริการสุขภาพจิตเนื่องจากไม่ยอมรับหรือไม่ตระหนักว่าตนมีปัญหาทางจิตเวช</p> ER -