@article{เศรษฐบุตร_ธีรเนตร_สุดนาวา_2021, place={Bangkok, Thailand}, title={ชุดความคิดและผลของชุดความคิดที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสุขในการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย}, volume={29}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmht/article/view/243770}, abstractNote={<p><strong>วัตถุประสงค์ </strong><strong>: </strong>เพื่อศึกษาลักษณะชุดความคิดของนักเรียน และเปรียบเทียบความสัมพันธ์ของชุดความคิดกับร้อยละของคะแนนสอบปลายภาค และคะแนนความสุขในการเรียน</p> <p><strong>วิธีการ</strong> : การศึกษาแบบตัดขวางเชิงวิเคราะห์ในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 โดยเก็บข้อมูลชุดความคิด ความสุขในการเรียน และร้อยละของคะแนนสอบรวมทุกวิชาปลายภาคการศึกษา จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติเชิงพรรณนา การถดถอยเชิงพหุคูณ และสหสัมพันธ์แบบเพียรสัน</p> <p><strong>ผล</strong><strong> :</strong> ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด 1,516 คน จำแนกเป็นกลุ่มชุดความคิดเติบโตร้อยละ 84.2 และกลุ่มชุดความคิดฝังแน่นร้อยละ 15.8 จากการศึกษาพบว่ากลุ่มชุดความคิดเติบโตมีร้อยละของคะแนนสอบและคะแนนความสุขในการเรียนที่มากกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) จากการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณพบว่าคะแนนชุดความคิดมีความสัมพันธ์กับร้อยละของคะแนนสอบรวมที่มากกว่าเมื่อควบคุมระดับสติปัญญาและการศึกษาของผู้ปกครอง (β = 0.153, p < .01) จากสหสัมพันธแบบเพียรสันพบว่าคะแนนชุดความคิดมีความสัมพันธ์กับคะแนนความสุขในการเรียน (b = 0.499, p < .05)<strong>.</strong></p> <p><strong>สรุป</strong><strong> : </strong>นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6  มีชุดความคิดเติบโตมากที่สุด และกลุ่มชุดความคิดแบบเติบโตมีความสัมพันธ์กับร้อยละของคะแนนสอบและความสุขในการเรียนที่มากกว่า</p>}, number={1}, journal={วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย}, author={เศรษฐบุตร ภัทธีรา and ธีรเนตร ชาคริยา and สุดนาวา เขมิกา}, year={2021}, month={มี.ค.}, pages={56–68} }