@article{คำออน_ชาญศิลป์_ศรีสุรภานนท์_สุระดม_2019, place={Bangkok, Thailand}, title={การพัฒนาและทดสอบความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรงเชิงสอดคล้องของแบบประเมินการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง Alabama Parenting Questionnaire (APQ) ฉบับภาษาไทย}, volume={27}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmht/article/view/204133}, abstractNote={<p><strong>วัตถุประสงค์</strong><strong>:</strong> เพื่อหาความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรงของแบบประเมิน Alabama Parenting Questionnaire (APQ) ฉบับภาษาไทย</p> <p><strong>วิธีการ</strong><strong>: </strong>เป็น tool development study ผู้วิจัยและคณะทำการแปลแบบประเมิน APQ ฉบับภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และนำไปเก็บข้อมูลจากผู้ปกครองของเด็กที่มีช่วงอายุ 6-18 ปี ของโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 200 คน ข้อมูลที่ได้นำมาหาความเชื่อมั่น ด้วยการหาค่า Cronbach’s alpha แยกตามหมวด และความเที่ยงตรงของแบบประเมิน ด้วยสถิติ Pearson’s correlation เปรียบเทียบแบบประเมิน APQ ฉบับภาษาไทยกับแบบประเมิน PHQ9 และ SDQ</p> <p><strong>ผล</strong><strong>: </strong>การทดสอบหาความเที่ยงตรงด้านโครงสร้างของแบบประเมิน APQ ฉบับภาษาไทยเทียบกับแบบประเมิน PHQ9 และ SDQ พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ (p value<0.01) แสดงถึงความเที่ยงตรงด้านโครงสร้างในการประเมินการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง ส่วนในการทดสอบหาความเชื่อมั่นพบว่าค่า Cronbach’s alpha ของ 4 หมวดหลักมากกว่า 0.7 แสดงถึงความสอดคล้องภายในสูง</p> <p><strong>สรุป</strong><strong>: </strong>แบบประเมิน APQ ฉบับภาษาไทยมีค่าความเชื่อมั่นด้านความสอดคล้องภายในและค่าความเที่ยงตรงด้านโครงสร้างที่ยอมรับได้ เหมาะกับการนำมาใช้ประโยชน์ในการคัดกรองการเลี้ยงดูที่มีปัญหา</p>}, number={2}, journal={วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย}, author={คำออน เอฬิณา and ชาญศิลป์ ชวนันท์ and ศรีสุรภานนท์ มานิต and สุระดม ชวิศา}, year={2019}, month={ก.ค.}, pages={107–120} }