@article{เหล่านิยมไทย_สิงหกันต์_ภัทรายุตวรรตน์_2021, place={Bangkok, Thailand}, title={การศึกษาคุณสมบัติของแบบประเมินความฉลาดทางสติสัมปชัญญะไทย}, volume={29}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmht/article/view/201409}, abstractNote={<p><strong>วัตถุประสงค์ </strong><strong>: </strong>เพื่อพัฒนาและทดสอบคุณสมบัติการวัดของแบบประเมินความฉลาดทางสติสัมปชัญญะฉบับภาษาไทย</p> <p><strong>วิธีการ :</strong> แบบประเมินความฉลาดทางสติสัมปชัญญะ (consciousness quotient inventory; CQ-i) ฉบับปี 2004 เป็นมาตรวัดรายงานตนเองแบบลิเคิร์ท (Likert scale) 6 ระดับ จำนวน 257 ข้อ แบ่งเป็น 7 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านร่างกาย (physical CQ) ด้านอารมณ์ (emotional CQ) ด้านปัญญา (cognitive CQ) ด้านความสัมพันธ์ (social-relational CQ) ด้านตัวตน (self CQ) ด้านการเติบโตภายใน (inner-growth CQ) และด้านจิตวิญญาณ (spiritual CQ) แบบประเมินแปลเป็นภาษาไทยและตรวจสอบความตรงกับความเที่ยงในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนิสิตระดับปริญญาตรี จำนวน 250 คน</p> <p><strong>ผล :</strong> แบบประเมินความฉลาดทางสติสัมปชัญญะไทย (CQ-i Thai version) มีดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามและวัตถุประสงค์ (index of item-objective congruence; IOC) อยู่ระหว่าง 0.6 - 1.0 ผ่านเกณฑ์จำนวน 256 ข้อ และมีหนึ่งข้อที่มีค่า IOC น้อยกว่า 0.5 และได้ปรับปรุงตามข้อแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ผลการตรวจสอบความเที่ยงด้วย Cronbach’s alpha อยู่ในระดับดีทั้งฉบับ (.980) และรายองค์ประกอบ (physical CQ = .910, emotional CQ = .894, cognitive CQ = .882, social-relational CQ = .890, self CQ = .848, inner-growth CQ = .847 และ spiritual CQ = .904)</p> <p><strong>สรุป :</strong> แบบประเมิน CQ-i ฉบับภาษาไทย มีค่าความตรงและความเที่ยงอยู่ในระดับดี อย่างไรก็ตาม ควรทดสอบคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติม เพื่อความเหมาะสมสำหรับเป็นเครื่องมือในการวิจัยและการประเมินทางคลินิก</p>}, number={2}, journal={วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย}, author={เหล่านิยมไทย รุจินันท and สิงหกันต์ ศุภโชค and ภัทรายุตวรรตน์ สุชีรา}, year={2021}, month={มิ.ย.}, pages={105–113} }