@article{Silpakit_Kittipongpisarn_Chomcheun_Sukying_Komoltri_2017, place={Bangkok, Thailand}, title={ความตรงทางคลินิกของแบบประเมินสมองเสื่อมสำหรับคนไทยในระดับปฐมภูมิ}, volume={25}, url={https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmht/article/view/142747}, abstractNote={<p><strong>          วัตถุประสงค์</strong>  เพื่อศึกษาความตรงทางคลินิกของแบบประเมินสมองเสื่อมสำหรับคนไทยระดับปฐมภูมิ</p> <p>          <strong>วัสดุวิธีการ</strong> แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียมทีมสหวิชาชีพประกอบด้วยแพทย์ พยาบาล และนักจิตวิทยาในสถานพยาบาล 3 แห่ง ขั้นตอนที่สอง ดำเนินการทางคลินิกและทดสอบทางจิตวิทยา ณ โรงพยาบาลสวนปรุง จิตเวชสงขลาราชนครินทร์ และศรีธัญญา ดำเนินการระหว่างเดือน กันยายน ๒๕๕๙ ถึง เมษายน ๒๕๖๐  เครื่องมือ คือ แบบประเมินปฐมภูมิ  แบบมาตรฐานคือ Rowland Universal Dementia Assessment Scale (RUDAS) และการวาดหน้าปัดนาฬิกา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา คัดข้อคำถาม เปรียบเทียบพื้นที่ใต้กราฟ (area under curve : AUC) ด้วย receiver operating analysis curve และจุดตัดของแบบประเมิน</p> <p>          <strong>ผล</strong>  กลุ่มตัวอย่างจำนวน 145 คน จำแนกเป็นกลุ่มควบคุม กลุ่มสงสัยสมองเสื่อม สมองเสื่อมระยะเริ่มต้น และระยะปานกลางขึ้นไปคือ 37, 35, 32 และ 41 คน ตามลำดับ AUC ของแบบประเมินปฐมภูมิและชุดคำถามที่คัดจากปฐมภูมิ และ RUDAS มีค่าระหว่าง 0.59-0.98 ชุดคำถามที่คัดจากแบบประเมินปฐมภูมิรวมกับจำนวนผลไม้ปรับคะแนนเพื่อใช้ในระดับชุมชนมีความตรงในระดับดี (ความไวและความจำเพาะคือร้อยละ 89 และ 81)</p> <p>          <strong>สรุป</strong>  แบบประเมินปฐมภูมิสำหรับชุมชนมีความตรงในกลุ่มสมองเสื่อม และความแม่นยำสอดคล้องกับแบบคัดกรองมาตรฐาน</p>}, number={3}, journal={วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย}, author={Silpakit, Orawan and Kittipongpisarn, Somsri and Chomcheun, Rossukon and Sukying, Chakrit and Komoltri, Chulaluk}, year={2017}, month={ก.ย.}, pages={137–147} }