Gender Differences in Baseline Characteristics and Virological Response in Antiretroviral- Naïve HIV Patients in Thailand Commencing HAART

Authors

  • John C Liddy (1) College of Public Health Sciences, Chulalongkorn University, Bangkok; (2) HIV-NAT, Thai Red Cross AIDS Research Centre, Bangkok
  • Chris Duncombe (1) HIV-NAT, Thai Red Cross AIDS Research Centre, Bangkok; (2) NCHECR, University of New South Wales, Sydney, Australia
  • Stephen J Kerr (1) HIV-NAT, Thai Red Cross AIDS Research Centre, Bangkok; (2) NCHECR, University of New South Wales, Sydney, Australia
  • Robert S Chapman College of Public Health Sciences, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

Keywords:

HIV/AIDS, gender, ARV, virological response

Abstract

Previous studies of gender differences in virological markers among HIV patients have yielded inconsistent results. We investigated whether there are gender differences in baseline characteristics and in virological response to HAART in a large cohort of HIV patients in Thailand. Data from 404 antiretroviral-naïve patients were examined. Variables included time to HIV suppression after initiating HAART, time to virological failure after suppression, mode of HIV transmission, age, baseline AIDS status, baseline HAART regimen, CD4+ count and plasma viral load (pVL). Cox regression and Kaplan-Meier estimation were used to test the hypotheses that times to suppression and virological failure differ by gender. There were statistically significant gender differences in heterosexual transmission (higher in female, p<0.001), baseline weight (higher in male, p<0.001), baseline pVL (higher in male, p=0.027) and a pre-baseline diagnosis of AIDS (higher in male, p=0.045). There were no significant differences in age, baseline CD4+ count, calendar year of commencing antiretroviral therapy or first antiretroviral regimen. All of the participants achieved virological suppression. Median time to suppression was 16 weeks for women and 18 weeks for men (HR 1.28, p=0.014). 27 (39.1%) women and 42 (60.9%) men failed virologically. Median time to failure was 235 weeks for women and 133 weeks for men (HR 0.60, p=0.040). Women achieved virological suppression more quickly than men and subsequently failed more slowly. Further research is needed to explain these gender differences.

ในอดีตพบว่าผลการศึกษาเรื่องเพศมิติกับการตอบสนองด้านไวรัสวิทยาต่อการรักษาของผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ที่รับยาต้านไวรัส ยังไม่มีความชัดเจน การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษา ความแตกต่างทางเพศกับการตอบสนองด้านไวรัสวิทยาต่อการรักษาของผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ที่รับยาต้านไวรัส ประเภท HAART ในประเทศไทย โดยการวิเราะห์ข้อมูลจากผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ที่รับยาต้านไวรัส จำนวน 404 คน ตัวแปรที่เกี่ยวข้องที่นำมาวิเคราะห์ ได้แก่ 1) ระยะเวลาที่เชื้อไวรัสโรคเอดส์ถูกยับยั้ง (HIV suppression) หลังจากได้รับยาต้านไวรัส ประเภท HAART 2) ระยะเวลาที่ไวรัสวิทยาล้มเหลว(times to suppression and virological failure) หลังจากทีไวรัสถูกยับยั้ง 3) สาเหตุของการติดโรคเอดส์ 4) อายุ 5) สถานะของโรคเอดส์เมื่อเริ่มเข้ารับการรักษา การรับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ประเภท HAART 6) จำนวน CD 4 และ 7)ไวรัส (plasma viral load หรือ pVL) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Cox regression และ Kaplan –Meire เพื่อทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับ มิตทางเพศ กับ ระยะเวลาที่เชื้อไวรัสโรคเอดส์ถูกยับยั้ง และ ระยะเวลาที่ไวรัสวิทยาล้มเหลว หลังจากทีไวรัสถูกยับยั้ง ผลการศึกษาพบว่ามีความแตกต่างในด้านมิติทางเพศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในปัจจัยต่างๆ อันได้แก่ การติดเชื้อเอดส์จาการมีเพศสัมพันธ์ต่างเพศ (หญิงมากว่าชาย p value < 0.001) น้ำหนักตัว(ชายมากว่าหญิง p value < 0.001) ค่าวัดทางไวรัสวิทยา plasma viral load หรือ pVL (ชายมากว่าหญิง p value = 0.027) และการวิจัยว่าติดเชื้อเอดส์ (ชาย มากว่าหญิง p value = 0.045) และพบว่าไม่มีความแตกต่างในด้านมิติทางเพศ ในปัจจัยต่างๆ อันได้แก่ อายุ จำนวน CD4+ ปีที่เริ่มรับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส หรือ การเริ่มรักษาด้วยยาต้านไวรัส กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาทุกรายเมื่อได้รับยาแล้วเชื้อไวรัสเอดส์จะถูกกดไว้ ค่าเฉลี่ยของระยะเวลาทีเชื้อไวรัสเอดส์ถูกกดในผู้หญิง 14 อาทิตย์ ในผู้ชาย 18 อาทิตย์ (HR 1.28, p=0.014) ผู้ติดเชื้อเอดส์เพศหญิง 27 คน ( 39.1%) และ ผู้ติดเชื้อเอดส์เพศชาย 27 คน ( 60.9%) การรักษาที่ไวรัสวิทยาล้มเหลว ค่าเฉลี่ยที่พบว่าไวรัสวิทยาล้มเหลว 235 วัน ในผู้ติดเชื้อเอดส์เพศหญิง และ 133 วัน ในผู้ติดเชื้อเอดส์เพศชาย (HR 0.60 p=0.040) สรุปได้ว่า ผู้ติดเชื้อเอดส์เพศหญิงหลังจากได้รับการรักษา เชื้อไวรัสโรคเอดส์จะถูกยับยั้งเร็วกว่าชาย และความล้มเหลวทางไวรัสวิทยาช้ากว่าเพศชาย ควรมีการศึกษาเพื่ออธิบายในเรื่องความแตกต่างในมิติทางเพศในการศึกษาเชิงลึกต่อไป

Downloads

Published

2018-11-20

How to Cite

Liddy, J. C., Duncombe, C., Kerr, S. J., & Chapman, R. S. (2018). Gender Differences in Baseline Characteristics and Virological Response in Antiretroviral- Naïve HIV Patients in Thailand Commencing HAART. Journal of Health Research, 22(Suppl.), 15–20. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jhealthres/article/view/156279

Issue

Section

ORIGINAL RESEARCH ARTICLE