TY - JOUR AU - จุฬารี, ศรัญญา AU - เจียรณัย, จันทร์ทิรา AU - ครอสูงเนิน, รังสิมา PY - 2022/07/01 Y2 - 2024/03/28 TI - ความสำเร็จของการหย่าเครื่องช่วยหายใจ: : บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล JF - ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ JA - bcnsurin VL - 12 IS - 1 SE - บทความวิชาการ DO - UR - https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnsurin/article/view/253489 SP - 149-163 AB - <p>เครื่องช่วยหายใจเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยประคับประคองการหายใจในผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจล้มเหลว      เมื่อผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น สามารถหายใจได้ด้วยตนเอง ควรหย่าเครื่องช่วยหายใจให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อช่วยลดภาวะแทรกซ้อน ลดระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาล และอัตราการตาย พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการช่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจ ความท้าทายเริ่มตั้งแต่การประเมิน และการติดตามตามอาการผู้ป่วยไปจนกระทั่งหลังถอดเครื่องช่วยหายใจ ความสำเร็จของการหย่าเครื่องช่วยหายใจขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ประกอบด้วย กลยุทธ์การใช้เครื่องช่วยหายใจ แนวทางการหย่าเครื่องช่วยหายใจ การเคลื่อนไหวและกายภาพบำบัด หน่วยงานพิเศษช่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจและความพร้อมของผู้ป่วย แนวปฏิบัติในการช่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจ แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ ระยะหย่าเครื่องช่วยหายใจ และระยะถอดท่อช่วยหายใจ บทความนี้ได้รวบรวมแนวปฏิบัติจากหลักฐานเชิงประจักษ์ที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ตลอดจนนำเสนอตัวอย่างแผนการพยาบาลในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ พยาบาลวิชาชีพสามารถใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจของผู้ป่วยได้</p> ER -