TY - JOUR AU - รัตนปทุมวงศ์, ปิ่นอนงค์ AU - อยู่ใจเย็น, มาลินี PY - 2014/01/01 Y2 - 2024/03/29 TI - การพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดในห้องพักฟื้น โรงพยาบาลระนอง Development of Clinical Practice Guidelines for Pain management among Postoperative Patients in the Post-Anesthesia Care Unit in Ranong Hospital JF - วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล (วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ) JA - JBCN_Bangkok VL - 30 IS - 1 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnbangkok/article/view/29279 SP - 86-99 AB - <p align="center"><strong>บทคัดย่อ</strong><strong></strong></p><p>            ความปวดมีความสำคัญ องค์การอนามัยโลกได้ถือความปวดเป็นสัญญาณชีพที่ 5 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดไปใช้ในห้องพักฟื้น โรงพยาบาลระนอง วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงพัฒนา  ขั้นตอนการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกประยุกต์จากแนวคิดการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกของสภาวิจัยทางการแพทย์และสุขภาพแห่งชาติ  ประเทศออสเตรเลีย ศึกษาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ จากการสืบค้นข้อมูลทางการแพทย์และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจำนวน 8 เรื่อง  ตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาของแนวปฏิบัติทางคลินิกที่พัฒนาขึ้นจากผู้เชี่ยวชาญ ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา ได้เท่ากับ .94   กลุ่มตัวอย่างเป็นวิสัญญีพยาบาลที่ใช้แนวปฏิบัติ จำนวน 9 คน และผู้ป่วยหลังผ่าตัดอายุตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป มีน้ำหนักมากกว่า 30 กิโลกรัม และได้รับการวางแผนการผ่าตัดชนิดรอได้ จำนวน 83 คน  ทำการศึกษาข้อมูลในระหว่างเดือนตุลาคม 2553  ถึงเดือนมีนาคม 2554   วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p><p><strong><em>            </em></strong>ผลการวิจัย</p><p>           1. ได้แนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดไปใช้ในห้องพักฟื้น โรงพยาบาลระนอง จำนวน 45 ข้อ โดยแบ่งเป็น 1) แนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดในระยะก่อนผ่าตัด จำนวน 12 ข้อ   2) แนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดระยะผ่าตัดจำนวน 5 ข้อ   3) แนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดระยะหลังผ่าตัดในห้องพักฟื้น จำนวน 11 ข้อ   4) แนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดโดยวิธีการใช้ยาระงับปวด ในห้องพักฟื้น 12 ข้อ   และ5) แนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดโดยวิธีการไม่ใช้ยา 5 ข้อ   </p><p>             2. ผู้ป่วยที่ได้รับการจัดการความปวดตามแนวปฏิบัติทางคลินิกจำนวน 83 รายพบว่า ก่อนออกจากห้องพักฟื้นมีระดับความปวดลดลงวัดระดับความปวดได้คะแนนระดับเล็กน้อย (Numeric Rating Scale = 1-3) มากที่สุดจำนวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 60.2</p><p>             3. ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดหลังผ่าตัด ในห้องพักฟื้น โดยรวมมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.77 อยู่ในระดับมาก</p><p>  4. ความพึงพอใจของพยาบาลวิสัญญีต่อการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดหลังผ่าตัด ในห้องพักฟื้น โดยรวมมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.71 อยู่ในระดับมาก</p><p>            สรุป  แนวปฏิบัติทางคลินิกด้านการจัดการความปวดหลังผ่าตัดในห้องพักฟื้น โรงพยาบาลระนอง ที่จัดทำขึ้นสามารถนำไปปฏิบัติ และพัฒนาอย่างต่อเนื่องได้ </p><p align="center"><strong><br /></strong></p><p align="center"><strong>Abstract</strong></p><p class="li-txtcontent"><strong>            </strong> The Pain is a concerning which World Health Organization has been recognized as the 5thvital signs. The aim of this study was to develop clinical practice guideline for pain management of post- operative patients in Post Anesthesia Care Unit, Ranong hospital. The study is research and development. Conceptual development of the National Health and Medical Research Council, Australia were applied as a framework. This study was based on evidence-based standards, Clinical practice guidelines and eight relevant researches were also used. Content validity was reviewed by experts with 0.94 of validity index. A total of nine anesthetist-nurses and eighty-three elective patients who was over 10 years-age and weight 30 kg. or more, participated in this study. The samples were collected from October 2011 through March 2012. The analyzed techniques are class interval, percentage, average and standard deviation.</p><p><strong>Results</strong>:</p><p>            1. Clinical Practice Guidelines for pain management of Post-AnesthesiaCareUnit, Ranong hospital was created into Forty-five items in five parts;  Part 1: Clinical Practice Guidelines for pain management in pre-operating phase, 12 items.  Part 2: Clinical Practice Guidelines for pain management in operating phase, 5 items.  Part 3: Clinical Practice Guidelines for pain management of post- operating phase in recovery room, 11 items.   Part 4: Clinical Practice Guidelines for pain management related to pharmacological interventions, 12 items.  Part 5: Clinical Practice Guidelines for pain management related to non-pharmacological interventions, 5 items.</p><p>            2. Eighty-three selected patients were assessed by Clinical Practice Guideline for Pain management prior discharge from PACU. Fifty patients (60.2%) have decrease pain intensity to mild level (NRS 1-3).</p><p>            3. Patient’s satisfaction rate under developed Clinical Practice Guidelinesfor pain management in post-operative patients in Post-Anesthesia Care Unit was 2.77 (high level).</p><p>            4. Anesthetist nurse’ssatisfaction rate under developed Clinical Practice Guidelines for pain management in post-operative patients in Post-Anesthesia Care Unit was 2.71 (high level).</p><p><strong>Conclusion</strong>: The Clinical Practice Guidelinesfor pain management ofPost-operative patients in Post Anesthesia Care Unit, Ranong Hospitalare practical and will be continue developed. </p> ER -