TY - JOUR AU - จิตต์อนันต์ , มนธีร์ AU - โสมะนันทน์ , วรางคณา AU - จิตต์อนันต์ , สุธาสินี AU - ลลิตผสาน , อุษณี AU - ขำอิน , สุมาลี PY - 2021/10/28 Y2 - 2024/03/29 TI - การพัฒนาแอปพลิเคชัน “เพื่อนจากใจ” เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะ สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ JF - วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล (วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ) JA - JBCN_Bangkok VL - 37 IS - 3 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnbangkok/article/view/243609 SP - 290-303 AB - <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;<strong>บทนํา:</strong> สุขภาวะเป็นคุณลักษณะที่สำคัญยิ่งของบุคคลโดยเฉพาะนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญของประเทศในอนาคต อย่างไรก็ตาม สุขภาวะของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีจำเป็นต้องได้รับการเสริมสร้างอย่างเร่งด่วน เนื่องจากการเกิดปัญหาความเครียดและโรคภาวะซึมเศร้า</p><p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; วัตถุประสงค์การวิจัย:</strong> การวิจัยครั้งนี้จึงเกิดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาแอปพลิเคชัน “เพื่อนจากใจ” เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์</p><p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ระเบียบวิธีวิจัย:</strong> การดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1 การสร้างและพัฒนาแอปพลิเคชัน “เพื่อนจากใจ” และระยะที่ 2 การศึกษาผลของแอปพลิเคชัน “เพื่อนจากใจ” ที่มีต่อสุขภาวะของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1-5 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2562 จำนวน 29 คน ซึ่งได้มาด้วยวิธีการสมัครใจ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระจากกัน และสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา &nbsp;</p><p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ผลการวิจัย:</strong> พบว่า (1) แอปพลิเคชัน“เพื่อนจากใจ” ประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก ได้แก่ “chatbot” “ข้อมูลสุขภาพใจ” “ข้อมูลสุขภาพกาย” และ“การบริการปรึกษาเชิงจิตวิทยา” (2) แอปพลิเคชันสามารถเสริมสร้างให้นิสิตมีสุขภาวะที่ดี (3) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อแอปพลิเคชันในระดับมาก (M=4.21) เนื่องจากแอปพลิเคชันมีความสะดวกต่อการใช้งาน</p><p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;สรุปผล:</strong> การพัฒนาแอปพลิเคชัน “เพื่อนจากใจ” ครบทุกส่วนสามารถเสริมสร้างสุขภาวะของนิสิตได้ดีและสร้างความพึงพอใจในการใช้อยู่ในระดับมาก</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>ข้อเสนอแนะ</strong><strong>:</strong> (1) ผู้ใช้ควรใช้แอปพลิเคชันให้ครบทุกฟังก์ชันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด (2) ผู้ใช้สามารถเลือกใช้ฟังก์ชันในแอปพลิเคชันตามสถานการณ์ที่ต้องการคำตอบในขณะนั้น หรือเลือกใช้วิธีการในแอปพลิเคชันเหมาะสมกับการรับรู้ของตน</p> ER -