TY - JOUR AU - ศิริเขตรกรณ์, ชลอรัตน์ PY - 2019/08/16 Y2 - 2024/03/28 TI - ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้ และพฤติกรรมในการรับบริการด้านการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก จังหวัดอุทัยธานี JF - วารสารสถาบันบำราศนราดูร JA - วารสารสถาบันบำราศนราดูร VL - 13 IS - 2 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bamrasjournal/article/view/201304 SP - 111 - 122 AB - <p class="Default" style="text-align: justify; text-justify: inter-cluster; text-indent: 42.55pt;"><span lang="TH" style="font-size: 16.0pt; font-family: 'EucrosiaUPC','serif'; color: windowtext;">วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติ การรับรู้ และพฤติกรรมในการรับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์จังหวัดอุทัยธานี กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้รับบริการของโรงพยาบาลต่างๆ ในจังหวัดอุทัยธานี โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน </span><span style="font-size: 16.0pt; font-family: 'EucrosiaUPC','serif'; color: windowtext;">440 <span lang="TH">คน ใช้แบบสอบถาม และเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</span></span></p><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 50-59 ปี การศึกษาระดับอนุปริญญา/ปวส. อาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยจากสื่อโทรทัศน์มากที่สุด ร้อยละ 98.90 และด้านการแพทย์ทางเลือก จากสื่อบุคคลมากที่สุด ร้อยละ 72.95 &nbsp;โดยมีความรู้และทัศนคติต่อบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอยู่ในระดับดี รวมทั้งการรับรู้ต่อการรับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอยู่ในระดับมาก โดยการรับรู้ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การได้รับคำแนะนำและสนับสนุนจากเพื่อน/คนใกล้ชิดให้ดื่มเครื่องดื่มสมุนไพร เพื่อบำรุงสุขภาพ รองลงมาได้รับคำแนะนำจากพยาบาล/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/แพทย์แผนไทย &nbsp;ในขณะที่ด้านพฤติกรรมต่อการรับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอยู่ในระดับปานกลาง โดยพฤติกรรมต่อการรับบริการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ สามารถซื้อหรือจ่ายค่าบริการเกี่ยวกับบริการได้ เนื่องจากราคาประหยัด ไม่แพง รองลงมา คือ ดื่มน้ำสมุนไพร ผลิตภัณฑ์สมุนไพร เพื่อบำรุงสุขภาพ</p><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ข้อเสนอแนะ 1) ควรมีการจัดทำรูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์ที่หลากหลายเหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย และมีการจัดการองค์ความรู้เกี่ยวกับแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 2) ควรมีการสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนางานที่เหมาะสมกับประเด็นปัญหา/บริบทในพื้นที่ต่อไป เช่น ปัญหาผู้สูงอายุมีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหลอดเลือดสมอง</p> ER -