The Effect of the Self-Efficacy Promoting Program on Self-Efficacy and Swallowing Ability in Stroke Patients with Dysphagia

Authors

  • Bhattharaporn Khowpongampai คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • Duangporn Piyakong
  • Somluk Tepsuriyanont

Keywords:

Self-Efficacy Promoting Program on Self-Efficacy, Self-Efficacy, Swallowing Ability, Stroke, Dysphagia

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง แบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของ โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองและความสามารถในการ กลืนของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะกลืนลำบาก กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ได้รับการ วินิจฉัยจากแพทย์ว่ามีปัญหาในการกลืนลำบาก ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรม และศัลยกรรมประสาท ณ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่ง คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 30 ราย และกลุ่มทดลอง 30 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1)เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรม การส่งสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากกรอบทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self- Efficacy Theory) ของแบนดูรา (Bandura, 1997) คู่มือการส่งเสริมความรู้และทักษะการบริหารกล้ามเนื้อปากและ ลิ้นของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะกลืนลำบาก และสื่อวีดีทัศน์ 2)เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง และแบบประเมินความสามารถใน การกลืน วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยสถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์เปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของตนเองและ ความสามารถในการกลืนระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองด้วยสถิติ Mann Whitney U Test และเปรียบเทียบ การรับรู้ความสามารถของตนเองและความสามารถในการกลืนก่อนและหลังทดลองของกลุ่มทดลองด้วยสถิติ Wilcoxon Signed Ranks Test ผลการศึกษาพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถของตนเองในการกลืนของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริม การรับรู้ความสามารถของตนเองดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง อย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถของตนเองในการกลืนของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีปัญหาการกลืน ภายหลังการทดลอง ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ค่าเฉลี่ยความสามารถของตนเองในการกลืนของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีปัญหาการกลืนในกลุ่ม ทดลองภายหลังให้โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง มีความสามารถในการกลืนดีกว่าก่อนได้รับ โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ค่าเฉลี่ยความสามารถในการกลืนของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีปัญหาการกลืนภายหลังการทดลอง ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

American Heart Association. (2020). Heart disease and stroke statistics-2020 update. A Report From the American Heart Association. Retrieved 5 March 2020 from http://circ.ahajournals.org

Bandura, A. (1997). Self-efficacy: The exercise of control. Retrieved 20 January 2017 from http://search.proquest.com.ezaccess.ibraries.psu.edu/docview/619147930?acc ountid=13158.

Division of Non-Communicable Diseases. (2015). Annual report 2015. Bangkok: The War Veterans Organization of Thailand. [In Thai].

Folstein, M.F., Folstein, S.E., & McHugh, P.R. (1975) “Mini-mental state”: A practical method for grading the cognitive state of patients for the clinician. Journal of Psychiatric Research. 12(3), 189-198.

Jaipong, S. (2007). The effect of utilizing nursing practice guidelines on promoting safety in swallowing among stroke patients with dysphagia in Prachomklao Hospital, Master Thesis (Adult Nursing), Christian University of Thailand, Nakhon Pathom. [In Thai].

Langdon, C., & Blacker, C. (2010). Dysphagia in stroke: A new solution. Stroke Research and Treatment, 2010(9), 1-6.Volume 2010, Article ID 570403, 6pages doi:10.4061/2010/570403

Leelamanit, V. (2008). Dysphagia and Aspiration. Songkhla: Chanmuang Press. [In Thai].

Limpastan, K. (2012). Cerebrovascular Disease (2nd ed). Chiang Mai: Neurosurgery Department of Surgery, Chiang Mai University. [In Thai].

Mueangtong, B. (2010). The effect of enhancing swallowing program on safety swallowing ability in stroke patients with dysphagia. Master Thesis (Nursing), Prince of Songkla University, Songkla. [In Thai].

Prasat Neurological Institute. (2009). Clinical nursing practice guideline for stroke patients with dysphagia. Bangkok: The War Veterans Organization of Thailand. [In Thai].

Prasat Neurological Institute. (2015). Clinical nursing practice guideline for stroke. Bangkok: Tana Press Co., Ltd. [In Thai].

Sangkamanee, Y., & Ruisungnoen, W. (2011). The effects of preparatory information on knowledge, anxiety, and self-care practice among patients underwent coronary artery bypass graft surgery, Khon Kaen. Journal of Nurses' Association of Thailand, North-Eastern Division, 30(1), 15-21. [In Thai].

Srijumnong, N., Rawiworakul, T., Lagampan, S., & Malathum P. (2010). The effects of a self-efficacy promotion program for caregivers of persons with stroke at home, Journal of Health and Nursing Research (Journal of Boromarajonani College of Nursing, Bangkok), 26(1), 28-43. [In Thai].

Srisatidnarakul, B. (2010). The methodology in nursing research (5th ed). Bangkok: U&I Inter Media Co., Ltd. [In Thai].

Strategy and Planning Division Ministry of Public Health. (2016). Public health statistics. Retrieved 27 February 2016 from http://bps.ops.moph.go.th/Healthinformation. [In Thai].

Thimayom, P., Chuawanlee, W., & Jinnge, P., (2012). The effect of self-efficacy program on self-care behavior of hemiparesis patients. Journal of Behavioral Science for Development, 4(1), 63-73. [In Thai].

Thongyu, R., Piyakong, D., & Tepsuriyanont, S., (2019). The effect of the mutual goal setting nursing program on activities of daily living among patients with stroke. Journal of Nursing and Health Care, 37(2), 103-112. [In Thai].

World Health Organization. (2016). Global health estimates 2015 summary tables: global deaths by cause, age and sex, 2000-2015. Retrived 10 April 2018 from www.who.int/entity/healthinfo/global_burden_disease/GHE 2015_Deaths_Global_2000_2015.xls

Downloads

Published

2020-08-28

How to Cite

Khowpongampai, B. ., Piyakong, D. ., & Tepsuriyanont, S. . (2020). The Effect of the Self-Efficacy Promoting Program on Self-Efficacy and Swallowing Ability in Stroke Patients with Dysphagia. NU Journal of Nursing and Health Sciences, 14(1), 122–134. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/NurseNu/article/view/236900