Development of a Blood Requisition Service Management System for Regional Blood Center VIII in Nakhonsawan Province with Responsive Web
Abstract
การนำระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการการให้บริการการขอใช้โลหิตของภาคบริการ โลหิตแห่งชาติที่ 8 เป็นสิ่งจำเป็น โดยช่วยเพิ่มประสิทธิภาพด้านการสื่อสารและการจัดสรรโลหิตระหว่าง ภาคบริการโลหิตและคลังโลหิตของโรงพยาบาล การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบ การจัดการการให้บริการการขอใช้โลหิตของภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์ การศึกษา เริ่มจากการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และทำการสัมภาษณ์ผู้ปฏิบัติงานในภาคบริจาค โลหิตแห่งชาติจำนวน 12 คน จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาทำการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น ในปัจจุบันและวิเคราะห์รูปแบบความต้องการของระบบ การวิเคราะห์และออกแบบระบบดำเนินตามแนวทาง การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุด้วย Unified Modeling Language (UML) แล้วพัฒนาระบบในรูปแบบ ของเว็บ แอพพลิเคชันแบบตอบโต้ (Responsive Web) โดยใช้ Yii Framework จากนั้นนำระบบไปทดลองใช้ และประเมินความพึงพอใจในประสิทธิภาพของระบบกับเจ้าหน้าที่ภาคบริการโลหิตและเจ้าหน้าที่คลังโลหิต ของโรงพยาบาลจำนวน 17 คน โดยประยุกต์ข้อคำถามในแบบประเมินจากโมเดลการวัดความพึงพอใจ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ผลการประเมินพบว่าผู้ใช้งานระบบมีความพึงพอใจในประสิทธิภาพของระบบอยู่ใน ระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.39, ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.545) ซึ่งแสดงว่าระบบสามารถช่วยแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน และเป็นประโยชน์ต่อการให้บริการการขอใช้โลหิต อีกทั้งยังสามารถเข้าถึงระบบได้จากคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และโทรศัพท์สมาร์ทโฟน
References
และธนาคารเลือด. คณะเทคนิคการแพทย์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: ธนบรรณการพิมพ์.
รัตนา เทพศิริ. (2553). การประเมินประสิทธิภาพ
การสำรองโลหิตของธนาคารเลือดโรงพยาบาล
ตำรวจ. วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่,
43(3), 167-174.
วชิราภรณ์ ยนต์วิเศษ และสาธิต เทศสมบูรณ์. (2555).
ปริมาณโลหิตที่เพียงพอและปริมาณโลหิต
สำรองที่เหมาะสม. พุทธชินราชเวชสาร, 29(1),
54-64.
ศิริเรือง พัฒน์ช่วย. (2552). การพัฒนาต้นแบบระบบ
คลังวัสดุ กรณีศึกษา:กองคลัง มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. การค้นคว้าอิสระ
วท.ม., มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. กรุงเทพ
มหานคร.
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ. (2548). คู่มือการใช้งาน
โปรแกรมรับ-จ่ายโลหิต. กรุงเทพฯ: ศูนย์
บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย.
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ. (2552) สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน
2559, จาก http://www.blooddonationthai.com/
สรชัย พิศาลบุตร เสาวรส ใหญ่สว่าง และปรีชา
อัศวเดชานุกร. (2549). การสร้างและประมวล
ข้อมูลจากแบบสอบถาม. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
อัษฎาพร ทรัพย์สมบูรณ์. (2554). การวิเคราะห์และออก
แบบเชิงวัตถุ (Object Oriented Analysis and
Design). กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์.
Doll, W. J., & Torkzadeh, G. (1988). The measurement
of end-user computing satisfaction. MIS
quarterly, 259-274.
Ghandforoush, P., & Sen, T. K. (2010). A DSS to manage
platelet production supply chain for regional
blood centers. Decision Support Systems, 50(1),
32-42.
HTML Responsive Web Design. (2559). HTML
Responsive Web Design Retrieved 12 December
2016, from http://www.w3schools.com
Iivari, J. (2005). An empirical test of the DeLone-
McLean model of information system success.
ACM Sigmis Database, 36(2), 8-27.
Li, B. N., Chao, S., & Dong, M. C. (2007). SIBAS: A
blood bank information system and its 5-year
implementation at Macau. Computers in Biology
and Medicine, 37(5), 588-597.
Lim, Y., Kim, H., Joung, U., Kim, C., Shin, Y., Lee, S.,
& Kim, H. (2010). The development of a
national surveillance system for monitoring
blood use and inventory levels at sentinel
hospitals in South Korea. Transfusion Medicine,
20(2), 104-112.
Peng, W., & Zhou, Y. (2015). The Design and Research
of Responsive Web Supporting Mobile
Learning Devices. Paper presented at the
2015 International Symposium on Educational
Technology (ISET).
WampServer. (n.d.). WampServer. from http://www.
wampserver.com/en/
Yii Framework. (n.d.). Yii Framework. from http://www.
yiiframework.com/