The Assessment on Health Status and Health Behavior among Aging Workers in Southern Thailand

Authors

  • ปัจฉิมา บัวยอม Office of Prevention and Control 12 Songkhla
  • หทัยทิพย์ จุทอง Office of Prevention and Control 12 Songkhla
  • สุวิช ธรรมปาโล Office of Prevention and Control 12 Songkhla
  • ลิเลียน วิวัฒน์ Suratthani Provincial Health Office
  • วันเพ็ญ แก้วปาน Faculty of Public Health, Mahidol University

Keywords:

Health status, health behavior, aging workers, southern Thailand

Abstract

The objective of this study was to determine health status, health risk and health promoting behavior among aging workers (45-60 years) in southern of Thailand. Subjects (n=314) were recruited from factories in Songkhla and Suratthani by multi-stage random sampling technique. Questionnaire and focus group discussion were performed for collecting data. Results showed that 64.9 % of aging workers perceived their health status at good level. Personal illnesses were reported at 43.2 %. Only 43.0% had history of annual health checkup examination. About 62.6% of subjects had hyperlipidemia, while 27.3 % were at risk of Diabetes mellitus. Aging workers had abnormal hearing ability and poor visual function at 20.7 and 68.1% respectively. For menopausal symptoms, 63.2% of female workers had estrogen deficiency and 30.4 % of male workers had testosterone deficiency. The aging group had risk behaviors such as regular smoking, alcohol drinking etc. at less than 10%. Most of aging workers had health promotion knowledge at good level (83.4%) and health promotion attitude at moderate level (89.0%). Most of the factories had health promotion policy (91.5%). The participation in health promotion activity was moderately convenient (51.9%) while support from family member was at high level (59.1 %). Aging workers had overall health promoting behaviors at good level (62.3 %). Predisposing factors (knowledge and attitude in health promotion), enabling factors (policy implementation, participation convenience) and reinforcing factors (support from personnel in work place and family members) as well as perceived health status were significantly related to health promoting behaviors (p<0.05). These factors should be considered to improve the health status and health behaviors of aging workers in the further.

References

1. Aging and work capacity, report of a WHO study group, WHO technical report series 835, World Health Organization.,Geneva.1993.

2. ภักดี โพธิศิริ. Health Policies Issues For The Aging Male in Thailand ในสายัณห์ สวัสดิ์ศรี และคณะ (บรรณาธิการ). คลินิกชายวัยทอง โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า. กรุงเทพมหานคร: บริษัทบียอนด์เอ็นเตอร์ไพรซ์ จำกัด. 2545.

3. หะทัย เทพพิสัย. ผู้ชายวัยทอง ในสายัณห์ สวัสดิ์ศรี และคณะ คลินิกวัยทองโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า. กรุงเทพมหานคร: บริษัท บียอนด์ เอ็นเตอร์ไพรซ์ จำกัด. 2540.

4. ชื่น เตชามหาชัย. ความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพชายวัยทอง.ในสำนักส่งเสริมสุขภาพ. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก. 2544.

5. จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ. สถานะสุขภาพคนไทยปี พ.ศ. 2543. กรุงเทพฯ : อุษาการพิมพ์. 2543.

6. Lantz , J.M.F., Judith T. Harshburger , Ryan J. and Sadle, Georgia R. Promoting Screening and early detection of cancer in men .Nursing and Health Sciences, 2001; 3: 189 - 196.

7. วันเพ็ญ แก้วปาน สุรินธร กลัมพากรและพิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพชายวัยทองในประเทศไทย.ม.ป.ท. 2548.

8. ปราณี ธีรโสภณ และ สร้อย อนุสรณ์ธีรกุล. รายงานการวิจัยเรื่องภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ชายวัยทอง. สนับสนุนทุนวิจัยโดยสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 2545.

9. จินตนา ศรีธรรมา และ วันเพ็ญ แก้วปาน. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของชายวัยทองในจังหวัดขอนแก่น. วารสารพยาบาลสาธารณสุข. 2547; 18(2): 52-65.

10. Green ,L.W.&Kreuter, M.W. Health Promotion Planning an Education and Ecological Approach. 3rd ed. California : Mayfield. 1999.

11. Pender, N.J, Calolyn, L.M&Mary,A.P.Health promotion in nursing practice. 4th ed. New Jersey : Pearson Education. 2001.

12. Pender, N.J. Health promotion in nursing practice. 2nd ed. Norwalk Connecticut : Appleton and Lange. 1987.

13. Walker S.N, Sechrist, K.R., Pender N.J. Health Promoting Lifestyle Profile II Development and Psychometric characteristics. Nursing Research. 1987; 6: 76-81.

14. Polit , D. F., Hungler, B.P . Nursing Research: Principle and method. 3 rd ed. Philadelphia: Lippincott. 1987.

15. ศิริพร จันทร์ไพรศรี. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้ชายไทยวัยกลางคน จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอกพยาบาลสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. 2548.
16. สุพร เหล่าสวัสดิ์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของชายวัยทอง : กรณีศึกษาในข้าราชการตำรวจชั้นประทวนเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอก
อนามัยครอบครัว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. 2548.

17. Green L.W. and Kreuter M.W. Health Promotion Planning: An educational and envoronmentl approach. 2nd ed. Mountain View, CA: Mayfield.1991.

18. ประภาเพ็ญ สุวรรณ และคณะ. พัฒนาทักษะชีวิตเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคไม่ติดต่อในเด็กและเยาวชน. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข. 2536.

19. ชัชวาล นฤพนธ์จิรกุล. แบบแผนการดำเนินชีวิตเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อของผู้บริหารจังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอกสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. 2540.

20. มนัสศรี ไพบูลย์ศิริ. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเขตเมือง จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (สุขศึกษา) สาขาสุขศึกษา ภาควิชาพลศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2545.

21. พิพัฒน์พงศ์ เข็มปัญญา. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของครูชายวัยทองในโรงเรียนประถมศึกษา จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอกพยาบาลสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล. 2548.

22. อรไท แดงชาติ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรในโรงพยาบาลตำรวจ. วิทยานิพนธ์ปริญญา วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต (สุขศึกษา) สาขาสุขศึกษา ภาควิชาพลศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2548.

23. ชื่นชม เจริญยุทธ. ปัจจัยที่กำหนดการเลือกใช้บริการสาธารณสุข ประเภทต่างๆ. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์ การแพทย์และสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. 2522.

24. Norbeck, K. The use of social support in clinical practice. Journal of psychosocial nursing and mental health science.1982; 20(December): 22 - 29.

25. Pender N.J, Murdaugh.L.C and Parson A.M. Health promotion in nursing practice. 4th ed. Upper Saddle River, NJ : Prentice - Hall.2006.

26. วนลดา ทองใบ. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพคนงานสตรีในโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอจังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอกสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. 2540.

27. วลิดา ศักด์ิบัณฑิตสกุล. การสนับสนุนทางสังคมและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของสตรี ที่ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลแม่และเด็ก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. 2541.

28. วาสนา สารการ. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของสตรีที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูป. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต (พยาบาลศาสตร์) สาขาวิชาการพยาบาลสตรี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2544.

29. ไพโรจน์ พรหมพันใจ.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอก สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. 2540.

30. เอมอร โพธิ์ประสิทธิ์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของบุคลากร โรงพยาบาลบางแพ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต (สุขศึกษา) สาขาสุขศึกษา ภาควิชาพลศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2548.

31. จุรีรัตน์ เพชรทอง. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมสุขภาพข้าราชการตำรวจภูธรจังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอกสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. 2540.

Downloads

Published

2010-06-30

How to Cite

1.
บัวยอม ป, จุทอง ห, ธรรมปาโล ส, วิวัฒน์ ล, แก้วปาน ว. The Assessment on Health Status and Health Behavior among Aging Workers in Southern Thailand. Dis Control J [Internet]. 2010 Jun. 30 [cited 2024 May 5];36(2):81-9. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/DCJ/article/view/155846

Issue

Section

Original Article